ݺߣ
Submit Search
การใช้งาȨบื้องต้น
•
Download as PPTX, PDF
•
0 likes
•
233 views
Y
Yui Janjira Ketsakorn
Follow
การใช้งาȨบื้องต้น
Read less
Read more
1 of 24
Download now
Download to read offline
More Related Content
การใช้งาȨบื้องต้น
2.
ประเภทของไฟล์ Flash การทางาของโปรแกรม Flash
จะเกี่ยวข้องกับไฟล์หลักๆ 2 ประเภท คือ ไฟล์เอกสาร (Flash documant) มีฟอร์แมตเป็ น .fla ไฟล์นี้เป็ นไฟล์ที่คุณบันทึกในขั้นตอนการสร้างชิ้นงาน โดยไฟล์จะจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ซึ่งได้จากการออกแบบ และ พัฒนาทั้งหมดไว้ตามสภาพเดิม และคุณสานมารถเปิ ด กลับขึ้นมาแก้ไขชิ้นงานได้
3.
ไฟล์มูฟวี่ (Flash movie)
มีฟอร์แมตเป็ น .swf ไฟล์นี้เป็ นผลลัพธ์สุดท้าย ซึ่งจะได้จากการพับลิช (publish) ไฟล์เอกสารข้างต้น เพื่อนาไปเผยแพร่และแสดงด้วยโปรแกรม Flash Player โดยข้อมูลต้นฉบับจะถูกบีบอัด ปรับลด คุณสมบัติ และยุบรวมกัน เพื่อให้ไฟล์มีขนาดเล็ก ดังนั้นจึงไม่ สามารถเปิ ดกลับขึ้นมาแก้ไขชิ้นงาน และในการเผยแพร่ไฟล์นี้ จึงไม่ต้องกลัวว่าข้อมูลต้นฉบับในไฟล์เอกสารจะถูกผู้อื่นก็อปปี้ ไปใช้นอกจากนั้นเมื่อมีการใช้คาสั่งทดสอบ การแสดงผล (Test Movies) โปนแกรมจะสร้างไฟล์ .swf ขึ้นมาให้อัตโนมัติ ด้วย ประเภทของไฟล์ Flash (ต่อ)
4.
ประเภทของไฟล์ Flash (ต่อ) นอกจากไฟล์ประเภทหลักๆข้างต้นแล้ว
ก็อาจมีไฟล์อื่นที่เกี่ยวข้อง อีก โดยขึ้นอยู่กับเนื้อหาของชิ้นงานและวิธีการพับลิช รวมไปถึงรูปแบบของ การสร้าง เช่น ไฟล์ .flv ซึ่งเป็ นไฟล์วิดีโอ (Flash Video) ที่ได้จาก การอิมพอร์ตวิดีโอเข้ามาใช้งาน, ไฟล์ .as เป็ นไฟล์ที่เก็บซอร์สโค้ดของ โปรแกรม ActionScript หรือ ไฟล์ .html ซึ่งเป็ นเว็บเพจที่ใช้แสดงมูฟวี่ เป็ น ต้น
5.
สร้างด้วย Welcome Screen ปกติเมื่อเปิ
ดโปรแกรม Flash ขึ้นมาแล้ว คุณจะพบหน้าจอ Welcome Screen เป็ นหน้าจอแรก ซึ่งคุณสามารถสร้างไฟล์ใหม่ได้ โดยคลิก คาสั่ง Flash File จากชุดคาสั่ง Create New ได้ดังภาพ สร้างไฟล์เอกสารใหม่
6.
สร้างด้วยคาสั่ง New หากต้องการสร้างไฟล์ใหม่ครั้งถัดๆไป หรือในกรณีที่กาหนดไม่ให้ โปรแกรมแสดง
Welcome Screen คุณอาจใช้คาสั่งจากเมนูได้ดังนี้
7.
สร้างไฟล์เอกสารจากเทมเพลต เทมเพลต (Template) เป็
นมูฟวี่สาเร็จรูปที่มีการกาหนด องค์ประกอบต่างๆไว้แล้ว เช่น ขนาดของ สเตจ, เลเยอร์, ซิมโบล, ActionScript, และข้อมูลอื่นที่จาเป็ นสาหรับมูฟวี่แต่ละประเภท เพื่อช่วยให้ คุณสร้างชิ้นงานได้อย่างรวดเร็ว เทมเพลตที่โปรแกรมมีมาให้จะแบ่งออกเป็ น หมวดหมู่ตามประเภทงาน ซึ่งคุณสามารถเรียกใช้ได้ตามขั้นตอนดังนี้
8.
บันทึกไฟล์เอกสาร ขณะกาลังสร้างชิ้นงานหรือภายหลังจากที่ทางานเสร็จแล้ว คุณ จะต้องบันทึกข้อมูลเก็บไว้เป็ นไฟล์เอกสาร
(.fla) เพื่อจะได้สามารถเปิ ดกลับ ขึ้นมาแก้ไขหรือทางานต่อในภายหลัง โดยมีขั้นตอนดังนี้
9.
บันทึกไฟล์เป็ นเทมเพลต หากต้องการนาไฟล์ที่สร้างขึ้นไปใช้เป็ นต้นแบบของไฟล์อื่นใน ภายหลัง
ตัวอย่างเช่น ในกรณีที่ใช้ Flash สร้างเว็บเพจ คุณอาจสร้างและ บันทึกโครงสร้างหลักของเว็บเพจไว้ก่อนและเมื่อสร้างเว็บเพจแต่ละ หน้าก็ สามารถเรียกไฟล์เทมเพลตนั้นกับมาใช้ได้ คุณสามารถบันทึกเทมเพลตได้ ดังนี้
10.
เรียกใช้เทมเพลตที่บันทึกไว้ หลังจากที่บันทึกเทมเพลตแล้ว คุณสามารถเรียกใช้ได้ด้วยคาสั่ง File
– New โดยเลือกสร้างไฟล์ใหม่จากเทมเพลต ซึ่งจะแสดงรายชื่อตามหมวดที่ได้บันทึก ไว้ดังภาพ
11.
เปิ ดไฟล์เอกสารที่บันทึกไว้แล้ว การเปิ ดไฟล์เอกสาร
flash (ไฟล์ฟอร์แมต FLA) เพื่อนากลับมาแก้ไข หรือทางานต่อ ให้คลิกเลือกไฟล์ที่ต้องการจาก Welcome Screen ดังภาพ เปิ ดด้วย Welcome Screen
12.
เปิ ดด้วยคาสั่ง Open ในกรณีที่ไม่ได้เปิ
ด Welcome Screen คุณสามารถใช้คาสั่งจากเมนูได้ดังนี้
13.
ปิ ดไฟล์เอกสาร เมื่อจบการทางานแล้วคุณสามารถปิ ดไฟล์เอกสารโดยคลิกคาสั่ง File
– Close (คีย์ลัดCtrl+W) หรือคลิกที่ปุ่ ม หรือปุ่ ม (กรณีที่ย่อ ขนาดวินโดว์อยู่)จากนั้นไฟล์จะปิ ดทันที
14.
ปิ ดไฟล์เอกสาร(ต่อ) แต่หากก่อนปิ ดไฟล์ได้มีการแก้ไขเนื้อหาจะไดอะล็อกบ็อกซ์ขึ้นมา เตือนว่าต้องการบันทึกเนื้อหานั้นหรือไม่
ให้คลิกปุ่ มคาสั่งใดคาสั่งหนึ่งดังภาพ
15.
กาหนดคุณสมบัติของเอกสาร คุณสมบัติพื้นฐานของไฟล์เอกสาร Flash (Document
Properties) ไม่ ว่าจะเป็ นขนาดพื้นที่ในการแสดงผล (ขนาดสเตจ), สีพื้นหลัง, อัตราเร็วในการ แสดงภาพเคลื่อนไหว เป็ นต้น ซึ่งควรกาหนดค่าเหล่านี้ให้ตรงกับจุดประสงค์ ของการนาไปใช้ตั้งแต่ตอนเริ่มต้นสร้างชิ้นงาน
16.
เป็ นการเลือกมุมมองในการแสดงออบเจ็คต่างๆขณะที่คุณสร้าง ชิ้นงาน เพื่อให้เหมาะกับความเร็วของคอมพิวเตอร์ที่ใช้
โดยคุณสามารถปรับ มุมมองจากคาสั่ง View > Previwe > Mode > เลือกมุมมอง ดังนี้ Outlines แสดงเฉพาะเส้นโครงร่างของออบเจ็ค โดยไม่แสดงพื้นและเส้นแต่ อย่างใด ช่วยให้คุณสามารถปรับแต่งรูปทรงออบเจ็คได้ง่ายขึ้น และยังทาให้ แสดงภาพได้เร็วขึ้น Fast แสดงสีและคุณสมบัติของพื้นและเส้น แต่ขอบของภาพจะไม่ถูกปรับ ให้เรียบ คือจะเห็นเป็ นรอยหยัก ซึ่งการแสดงภาพจะเร็วกว่าแบบ Anti-Alias
17.
Anti-Alias ในมุมมองนี้ขอบของภาพกราฟฟิกและภาพบิทแมพจะถูกปรับให้เรียบ คม แต่ตัวอักษรยังมีขอบหยักอยู่ Anti-Alias Text ในมุมมองนี้ขอบของภาพกราฟิก
ภาพบิทแมพและตัวอักษรจะถูกปรับ ให้เรียบ ซึ่งเหมาะกับชิ้นงานที่ต้องใช้ตัวอักษรขนาดใหญ่ แต่ถ้าชิ้นงานมี ตัวอักษรเล็ก จานวนมากจะทาให้ทางานช้าลง มุมมองนี้จะถูกกาหนดให้เป็ น มุมมองแรกเมื่อสร้างไฟล์อยู่แล้ว Full เป็ นมุมมองที่แสดงภาพได้สมบูรณ์ที่สุดแต่ก็ทางานได้ช้าที่สุด
18.
เช่นเดียวกับโปรแกรมกราฟิกส่วนใหญ่ Flash ได้จัดเตรียมเครื่องมือ ไม้บรรทัด
เส้นกริด และเส้นไกด์ไว้สาหรับช่วยให้คุณกะระยะและจัดวางออบ เจ็คได้อย่างแม่นยา ไม้บรรทัด (Ruler) คาสั่งที่ใช้เปิ ด/ปิ ด : View > Ruler (คีย์ลัด Ctrl + Alt + Shift + R) ไม้บรรทัด เป็ นเครื่องมือสาหรับช่วยกะระยะและบอกตาแหน่งออบ เจ็ค โดยจะแสดงอยู่ที่ด้านบนและด้านซ้ายของพื้นที่ทางาน (โดยปกติจะมี หน่วยวัดเป็ นพิกเซล) นอกจากนี้เมื่อคุณใช้เมาส์ลากย้ายออบเจ็คจะปรากฏ เส้นบอกขอบเขตของออบเจ็คดังกล่าวบนไม้บรรบัดทั้ง 2 ด้าน
19.
เส้นกริด (Grid) คาสั่งที่ใช้เปิ ด/ปิ
ด : View > Grid > Show Grid (คีย์ลัด Ctrl +’) กริด คือเส้นตารางสมมติทที่จะช่วยในการจัดวางตาแหน่งออบเจ็ค บนสเตจได้อย่างแม่นยา เส้นกริดจะปรากฏดฉพาะขณะที่คุณสร้างชิ้นงานแต่ จะไม่ปรากฏให้ผู้ชมมูฟวี่เห็น เส้นไกด์ (Guide) คาสั่งที่ใช้เปิ ด/ปิ ด : View > Guides > Show Guides (คีย์ลัด Ctrl + ; ) ไกด์ คือเส้นที่ช่วยในการกะระยะและบอกตาแหน่งเพื่อจัดวางออบ เจ็คเช่นกันกับเส้นกริด แต่เส้นไกด์นี้คุณสามารถสร้างไว้ตรงตาแหน่งต่างๆ ได้เองทั้งแนวตั้งและแนวนอน
20.
การยึดจับ เป็ นคุณสมบัติที่ช่วยในการจัดวางตาแหน่งของออบเจ็ค (เมื่อทาการวาดหรือย้าย)
ให้เที่ยงตรงยิ่งขึ้น โดยคุณอาจสั่งให้ออบเจ็คนั้นยึด เข้าหาเส้นกริด เส้นไกด์ หรือออบเจ็คอื่นก็ได้ เพื่อให้ออบเจ็ค อยู่ในแนวหรือตาแหน่งที่ต้องการ วิธีเปิ ดใช้การยึดจับทาได้ โดยคลิกคาสั่ง View > Snapping > เลือก คาสั่งยึดจับ ซึ่งแต่ละคาสั่งมีการใช้งานดังหัวข้อถัดไป Snap Align ช่วยจัดตาแหน่งของออบเจ็คที่กาลังย้ายเพื่อให้ตรงกันกับออบเจ็ค อื่น โดยโปรแกรมจะแสดงเส้นประสีดาขึ้นมา เมื่อขอบด้านใดด้านหนึ่งของ ออบเจ็คที่กาลังย้ายนั้นตรงกับขอบของออบเจ็คอื่น (ไม่ว่าออบเจ็คนั้นจะอยู่ที่ ใดบนสเตจ)
21.
Snap to Grid เป็
นการยึดออบเจ็คเข้าหาเส้นกริด โดยเมื่อคุณวาดออบเจ็คขึ้นมา ใหม่หรือย้ายออบเจ็คเข้าใกล้กริดเส้นใดเส้นหนึ่ง ออบเจ็คจะถูกดึงเข้าไปยึด กับเส้นกริดนั้นโดยอัตโนมัติ ขณะที่วาดหรือย้ายให้สังเกตว่าจะปรากฏรูป วงกลม ขนาดใหญ่ขึ้นที่ใกล้เมาส์พอยเตอร์ เป็ นการแสดงว่ายึดจับแล้วแต่ ทั้งนี้ในการย้ายคุณจะต้องคลิกลากที่จุดกึ่งกลางบริเวณขอบ หรือที่มุมของ ออบเจ็คเท่านั้น และคาสั่งยึดจับยังคงมีผลแม้ว่าคุณจะไม่ได้เปิ ดแสดง เส้นกริด Snap to Guides เป็ นการยึดออบเจ็ค (ที่กาลังวาดหรือย้าย) เข้าหาเส้นไกด์ โดยจะ ปรากฏรูป วงกลม ขนาดใหญ่ขึ้นที่ใกล้เมาส์พอยเตอร์เป็ นการแสดงว่ายึดจับ แล้ว ซึ่งถ้าบริเวณนั้นมีทั้งเส้นกริดและเส้นไกด์ ออบเจ็คจะยึดจับกับเส้นไกด์ มากกว่า และคาสั่งยึดจับยังคงมีผลแม้ว่าคุณจะไม่ได้เปิ ดแสดงเส้นไกด์
22.
Snap to Pixels เป็
นการยึดออบเจ็ค (ที่กาลังวาดหรือย้าย) เข้าหาแนวขอบพิกเซล ของสเตจ โดยหลังจากเลือกคาสั่งนี้แล้วคุณจะมองเห็นเส้นกริดพิกเซล (pixel grid) เมื่อขยายมุมมองตั้งแต่ 400 % ขึ้นไป และหากต้องการ ซ่อนกริดพิกเซลชั่วคราวให้กดคีย์ กากบาท ค้างไว้ Snap to Objects เป็ นการยึดออบเจ็ค (ที่กาลังวาดหรือย้าย) เข้าหาออบเจ็คอื่นที่อยู่ ใกล้เคียง โดยจะปรากฏรูป วงกลม ขนาดใหญ่ขึ้นที่ใกล้เมาส์พอยเตอร์ เป็ น การแสดงว่ายึดจับแล้วนอกจากนั้นคาสั่งนี้ยังอาจใช้ช่วยให้การวาดภาพ แม่นยาขึ้น โดยรูป วงกลม จะปรากฏเมื่อคุณวาดเส้นตรงที่อยู่ในแนวตั้งหรือ แนวนอนพอดี, วาดวงกลมที่สมบูรณ์หรือวาดสี่เหลี่ยมจัตุรัสด้วย
23.
คาสั่งที่ใช้เปิ ด/ปิ ด
: Window > Other Panels > History (คีย์ลัด Ctrl + F 10) History เป็ นพาเนลที่เก็บรวบรวมคาสั่งและการกระทาทั้งหมด โดย เรียงลาดับตั้งแต่เปิ ดหรือสร้างไฟล์ไปจนถึงคาสั่งล่าสุดแต่ต้องไม่เกินจานวนที่ ได้กาหนดไว้ (โดยปกติจะเก็บได้ 100 คาสั่ง ซึ่งถ้าเกินกว่านี้คาสั่งที่เก่าที่สุด จะหายไป) คุณสามารถใช้พาเนลนี้ในการยกเลิกหรือทาซ้าคาสั่งทีละหลายๆ คาสั่งได้ ยกเลิกคาสั่ง ทาได้โดยคลิกลากตัวสไลด์เดอร์ไปชี้บนคาสั่งสุดท้ายที่ยังต้องการให้มี ผล ดังภาพ จากนั้นจึงทางานอื่นๆต่อไป คาสั่งที่ถูกยกเลิกจะกลายเป็ นสีเทา หากเปลี่ยนใจคุณสามารถเลื่อนสไล เดอร์เพื่อเรียกคาสั่งเหล่านี้กลับมาได้
Download