ݺߣ
Search
Submit Search
การจัดการอุปกรณ์จัึϹก็บྺ้อมูล
•
Download as PPTX, PDF
•
0 likes
•
1,153 views
N
Nu Mai Praphatson
การจัดการอุปกรณ์จัึϹก็บྺ้อมูล
Read less
Read more
1 of 11
Download now
Downloaded 11 times
More Related Content
การจัดการอุปกรณ์จัึϹก็บྺ้อมูล
2.
โครงสร้างดิสก์แบบ RAID โครงสร้างดิสก์แบบ RAID
(Redundant Array of Independent Disks) หมายถึง การนาดิสก์หลายๆ ตัวมารวมกัน และมีตัวควบคุมการ ทางานของดิสก์เหล่านั้น ทาให้ระบบปฏิบัติการมองเห็นดิสก์เหล่านั้นเป็น ดิสก์ตัวเดียว เพื่อเพิ่มความเชื่อถือของระบบในการเก็บรักษาข้อมูล ด้วยการ บันทึกข้อมูลแบบซ้าซ้อน (Redundancy) เทคนิคที่ใช้ในการจัดโครงสร้างของดิสก์แบบ RAID เพื่อบันทึก ข้อมูลแบบซ้าซ้อน คือ
3.
1. Striping เป็นการแบ่งดิสก์ออกเป็นส่วน ๆ
เพื่อเพิ่มความเร็วในการโอนย้าย ข้อมูล 2. Mirroring หรือ Shadowing เป็นการจัดเก็บข้อมูลเดิมซ้าไว้ในดิสก์หลายตัว 3.Block interleaves parity เป็นการบันทึกข้อมูลซ้าเพียงบางส่วน แต่ให้ผลใกล้เคียงกับการ บันทึกข้อมูลซ้าทั้งหมด ซึ่งเป็นการ ประหยัดดิสก์
4.
การจัดโครงสร้างของดิสก์แบบ RAID สามารถแบ่งออกได้เป็น
7 ระดับ ดังนี้ คือ 1. RAID ระดับ 0 Non-Redundant Striping 2. RAID ระดับ 1 Disk Mirroring 3. RAID ระดับ 2 Memory -Style Error-Correcting Codes 4. RAID ระดับ 3 Bit-Interleaved Parity 5. RAID ระดับ 4 Block-Interleaved Parity 6. RAID ระดับ 5 Block-Interleaved Distributed Parity 7. RAID ระดับ 6 P + Q Redundancy
5.
RAIDระดับ 0 Non-RedundantStriping ประกอบด้วยดิสก์ชุดหนึ่ง
เรียกว่า Disk Arrays ซึ่งนามาทา Striping ไม่มีการเก็บข้อมูล แบบซ้าซ้อน RAID ในระดับนี้จึงไม่ได้เพิ่มความ น่าเชื่อถือของข้อมูล แต่เป็นวิธีที่เพิ่มความเร็วใน การจัดเก็บข้อมูล
6.
RAIDระดับ 1 Disk
Mirroring เป็นการแบ่งดิสก์ออกเป็น 2 ชุด ในการบันทึกข้อมูลจะใช้วิธี Striping เช่นเดียวกับ RAID ระดับ 0 แต่มีการบันทึกข้อมูลลงในดิสก์ทั้งสอง ชุดพร้อมกัน ดังนั้นถ้าดิสก์ชุดใดชุดหนึ่งเกิดขัดข้อง ระบบก็ยังสามารถใช้งาน ได้ปกติ เพราะยังคงมีข้อมูลอยู่ในดิสก์อีกชุดหนึ่ง แต่ข้อเสียของวิธีนี้คือ ใช้ งบประมาณสูงเพราะต้องใช้ดิสก์เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า
7.
RAIDระดับ 2 Memoru-
Style Error-Correcting Codes เป็นการจัดเก็บข้อมูลที่สามารถตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ด้วยตัวเอง โดยใช้ข้อมูลบิต พิเศษเรียกว่า Parity bits ข้อมูลแต่ละไบต์จะมี Parity Bit เป็นของตนเอง ซึ่งวิธีการตรวจสอน ทาได้ 2 วิธี คือ แบบบิตคู่ (Even Parity) และแบบบิตคี่ (Odd Parity)
8.
RAIDระดับ 3 Bit-
Interleaved Parity เป็นการพัฒนามาจาก RAID ระดับ 2 โดยใช้ความจริงที่ว่า Disk Controller สามารถ ตรวจสอบได้ว่าข้อมูลในแต่ละเซกเตอร์นั้นถูกอ่านขึ้นมา ได้อย่างถูกต้องหรือไม่ ดังนั้น Error- Correction และ Error-Detection สามารถใช้ Parity Bit เพียงบิตเดียวร่วมกันได้ ลักษณะนี้ทาให้ RAID ระดับ 3 มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกับ RAID ระดับ 2 แต่ใช้ปริมาณดิสก์น้อยกว่า
9.
RAIDระดับ 4 Block-Interleaved
Parity เป็นการแบ่งดิสก์ออกเป็น Striping สาหรับข้อมูลแต่ละบล็อก เช่นเดียวกับ RAID ระดับ 0 และมีการจัดเก็บ Parity Block ไว้ในดิสก์ต่างหาก ถ้าดิสก์ที่เก็บข้อมูลตัวใดตัวหนึ่งเกิดขัดข้อง ก็นา Parity Block มาใช้ คานวณหาค่าของข้อมูลที่เสียหายได้
10.
RAIDระดับ 5 Block-Interleaved
Distributed Parity เป็นวิธีที่คล้ายกับ RAID ระดับ 4 ต่างกันที่การจัดเก็บข้อมูล และ Parity Block จะเก็บ กระจายอยู่ในดิสก์ต่างๆ ไม่มีการแยกระหว่างข้อมูลและ Parity Block เพื่อแก้ปัญหาที่ต้องอ่าน Parity Block จากดิสก์เพียงตัวเดียวทาให้ดิสก์ตัว นั้นทางานหนักเกินไป
11.
RAIDระดับ 6 p
+ Q Redundancy เป็นวิธีที่คล้ายกับ RAID ระดับ 5 ต่างกันที่มีการจัดเก็บข้อมูลที่ซ้าซ้อนเผื่อไว้ ในกรณีที่มี ดิสก์เกิดขัดข้องหลายๆ ตัวพร้อมกัน
Download