ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
โครงงานสารสกัดสมุนไพรรักษา
แผลหน้ายาง
บทคัดย่อ
ภาคใต้มีสวนยางพารามีการกรีดยางเยอะเกือบทั่วทั้งภาคยางพาราเป็นพืชที่จะหวังผลในระยะ
ยาวถ้าต้องมามีผลผลิตน้อยเพราะเรื่องที่น้ายางออกมาน้อยได้กาไรน้อยอาจจะขาดทุนไม่มีผลผลิตอย่าง
ต่อเนื่องต้องหยุดตัดยางเพื่อที่จะต้องรักษาหน้ายางให้ฟื้นฟูสภาพหน้ายางให้หน้ายางหายจากการเป็น
แผลจึงจะตัดได้อีกครั้งต้องใช้เวลาในการรักษาเป็นเวลานาน ต่างจะมีปัญหาคือ น้ายางที่ได้จากผลผลิต
ออกมาในปริมาณน้อยเพราะเนื่องจากแผลที่หน้ายางจึงทาให้ผลผลิตน้ายางออกมาค่อนข้างน้อยหรือ
น้อยมากและผลที่ทาให้หน้ายางเป็นแผลอาจเนื่องจากการบาดของมีดตัดยางที่ตัดลึกจนเกินไปหรือการ
ใช้สารเคมีในการทาหน้ายางเพื่อเร่งผลผลิตมีปริมาณมากที่สะสมอยู่ในต้นยางทาให้หน้ายางตายจนตัด
ไม่ได้ต้นยางตายเร็ว
ดังนั้นทางกลุ่มจึงคิดหาวิธีที่จะทาให้หน้ายางไม่มีแผลผลผลิตน้ายางออกในปริมาณที่เยอะขึ้น
โดยไม่ใช้สารเคมี การกรีดยางที่ถูกต้องต้องกรีดให้ได้น้ายางให้ได้มากที่สุดส่วนให้ได้เปลือกน้อยที่สุดน้า
ยางจะเยอะขึ้นและมีดจะได้ไม่ไปบาดลึกหน้ายางอีกด้วย
จากโครงงานทางกลุ่มจึงได้คิดหาสมุนไพรท้องถิ่นที่มีคุณสมบัติหรือสรรพคุณในการช่วยรักษา
หรือสมานแผลหน้ายางได้และไม่เป็นผลเสียต่อต้นยาง ช่วยบารุงแผลและป้ องกันหน้ายางช่วยเพิ่ม
ผลผลิตน้ายางให้มีปริมาณเพิ่มขึ้น
บทนา
ในภาคใต้ส่วนใหญ่จะทาเกษตรกรรมมีการปลูกสวนยางและกรีดยางกันทั่วทั้งภาคเป็นพืชผลที่
ได้ผลผลิตในระยาว แต่อาจมีผลผลิตน้ายางออกมาน้อยเนื่องจากมีแผลที่หน้ายางมาจากการกรีดหน้า
ยางที่ลึกบาดหน้ายางเกิดเป็นแผลหรือจากสารเคมีที่เร่งน้ายางให้ออกเร็วและมีปริมาณมากขึ้นหน้ายาง
เกิดเป็นแผลหน้ายางเฉาตาย ในการฟื้นฟูต้องใช้เวลานานพอสมควรในการที่จะให้ให้น้ายางกลับมามาก
ได้ผลผลิตเหมือนเดิม การกรีดยางกับมีดกรีดยางก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้หน้ายางเกิดแผลอาจกดลึกเกิน
จนทาให้หน้ายางเป็นแผลน้ายางออกมาน้อย จากการตัดยางพาราที่ผิดเวลาตัดในช่วงมีแสงแดดน้ายาง
เลยไม่ออกต้องตัดยางพาราในช่วง06:00-08:00น.และหลีกเลี่ยงการตัดช่วงมีแสงแดดจ้า ในช่วง
เวลาที่ฝนตกชุกติดต่อกันเป็นเวลานานนั้นก็เกิดเชื้อราได้ในหน้ายางและเปลือกนอก ทางกลุ่มจึงคิดหา
วิธีการรักษาแผลหน้ายางทาให้น้ายางออกมามากโดยคิดหาสมุนไพรที่ไม่ใช้สารเคมีสมุนไพรที่มี
คุณสมบัติหรือสรรพคุณช่วยสมานและรักษาแผลหน้ายางได้โดยไม่มีผลเสียต่อหน้ายางและไม่ทาให้ต้น
ยางหยุดการย้อยของต้นยางต้นยางตายเร็ว
วัตถุประสงค์
• เพื่อเพิ่มผลผลิตน้ายาง
• เพื่อยืดอายุยางไม่ให้ตายเร็วจากสารเคมี
• ๶พื่อรักษาสมาȨผลหน้ายาง
ความเป็นมา
เนื่องจากภาคใต้มีการปลูกยางเป็นส่วนใหญ่ซึ่งเป็นพืชผลทางการเกษตรของภาคใต้เป็นพืชผล
ระยะยาวจึงประสบปัญหาเกี่ยวกับผลผลิตจึงได้สังเกตว่าต้นยางที่หน้ายางเป็นแผลจากการกรีดที่
ลึกเกินไปหรือจากสารเคมีซึ่งดูดแต่น้ายางออกมาไม่ได้มีสารอาหารไปเลี้ยงต้นยางพาราจึงทาให้
น้ายางออกมาน้อยต้นยางนั้นไม่มีความอุดมสมบูรณ์ขาดสารอาหารไปเลี้ยงต้นทาให้หน้ายางแข็ง
กรีดยากจะมีปริมาณน้ายางออกน้อยซึ่งทาให้ผลผลิตลดลงไปด้วย ต้นยางอาจหยุดการย้อยของน้า
ยางแล้วตายในที่สุด การไม่ค่อยได้บารุงรักษาต้นยางตัดแล้วเร่งน้ายางออกมาอย่างเดียวต้นยาง
เลยขาดสารอาหารที่ไปเลี้ยงต้นยาง จึงคิดหาวิธีที่ป้ องกันไม่ให้หน้ายางเป็นแผลและรักษาป้ องกัน
หน้ายางไม่ให้เกิดเป็นแผลเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้ต้นยางพาราได้ผลผลิตที่เพิ่มขึ้นมาบ้างและช่วย
บารุงต้นยางพาราโดยไม่ต้องไปใช่ต้นทุนที่มากจนขาดทุนและบางครั้งก็ไม่ได้ผลทาให้เสียเวลา
ยางพาราต้นอาจจะตายเร็วขึ้นเกิดปัญหาตามมามากมาย โดยหาจากสมุนไพรที่สามารถช่วยรักษา
แผลหน้ายางให้ดีขึ้นซึ่งจะช่วยให้ผลผลิตน้ายางเพิ่มขึ้นและไม่ทาให้ต้นยางตายเร็ว ได้ศึกษาจาก
สรรพคุณของหว่านหางจระเข้ที่ช่วยสมานแผลได้จึงได้นามาทดลองกับหน้ายางพาราในการช่วย
รักษาหน้ายางพาราจากแผลได้อาจไม่ได้ผลในทันทีแต่มีส่วนช่วยสมานแผลหน้ายางพาราได้
สามารถหาได้ในท้องถิ่นไม่ต้องไปลงทุนใช้เงินมากมายไม่ต้องกังวลว่าขาดทุนจากการซื้อสารเคมี
และฤทธิ์ของของสารเคมีที่ทาให้ต้นยางพารานั้นตายเร็วขึ้น เพราะหว่านหางจระเข้เป็นสมุนไพรไม่มี
สารเคมีทาลายยางพารา
ยางพารา
ยางพารา เป็นไม้ยืนต้น มีถิ่นกาเนิดบริเวณลุ่มน้าแอมะซอน ประเทศบราซิลและเปรู ทวีปอเมริกาใต้ โดยชาว
พื้นเมืองเรียกว่า "เกาชู" แปลว่าต้นไม้ร้องไห้ จนถึงปี พ.ศ. 2313 (1770) โจเซฟ พรีสต์ลีย์ พบว่ายาง
สามารถนามาลบรอยดาของดินสอได้ จึงเรียกว่ายางลบหรือตัวลบ (rubber) ซึ่งเป็นศัพท์ใช้ในอังกฤษ
และเนเธอร์แลนด์เท่านั้นศูนย์กลางของการเพาะปลูกและซื้อขายยางในอเมริกาใต้แต่ดั้งเดิมอยู่ที่รัฐปา
รา ของบราซิล ยางชนิดนี้จึงมีชื่อเรียกว่า ยางพารา
เวลากรีดยาง : ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการกรีดยางมากที่สุดคือ ช่วง 6.00-8.00 น. เนื่องจาก
เป็นช่วงเวลาที่สามารถมองเห็นต้นยางได้อย่างชัดเจนและได้ปริมาณน้ายางใกล้เคียงกับการกรีดยางใน
ตอนเช้ามืด แต่การกรีดยางในช่วงเวลา 1.00-4.00 น. จะให้ปริมาณยางมากกว่าการกรีดยางในตอน
เช้าอยู่ร้อยละ 4-5 ซึ่งเป็นช่วงที่ได้ปริมาณน้ายางมากที่สุดด้วย แต่การกรีดยางในตอนเช้ามืดมีข้อเสีย
คือ ง่ายต่อการกรีดบาดเยื่อเจริญส่งผลให้เกิดโรคหน้ายางทั้งยังเป็นการสิ้นเปลืองและไม่มีความ
ปลอดภัยจากสัตว์ร้ายหรือโจรผู้ร้าย
การหยุดพักกรีด : ในฤดูแล้ง ใบไม้ผลัดใบหรือฤดูที่มีการผลิใบใหม่ จะหยุดพักการกรีดยาง
เนื่องจากมีผลต่อการเจริญเติบโตของใบและต้นยาง การกรีดยางในขณะที่ต้นยางเปียก จะทาให้เกิดโรค
เส้นดาหรือเปลือกเน่าได้
เวลากรีดยาง : ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการกรีดยางมากที่สุดคือ ช่วง 6.00-8.00 น. เนื่องจากเป็น
ช่วงเวลาที่สามารถมองเห็นต้นยางได้อย่างชัดเจนและได้ปริมาณน้ายางใกล้เคียงกับการกรีดยางในตอน
เช้ามืด แต่การกรีดยางในช่วงเวลา 1.00-4.00 น. จะให้ปริมาณยางมากกว่าการกรีดยางในตอนเช้า
อยู่ร้อยละ 4-5 ซึ่งเป็นช่วงที่ได้ปริมาณน้ายางมากที่สุดด้วย แต่การกรีดยางในตอนเช้ามืดมีข้อเสีย คือ
ง่ายต่อการกรีดบาดเยื่อเจริญส่งผลให้เกิดโรคหน้ายางทั้งยังเป็นการสิ้นเปลืองและไม่มีความปลอดภัย
จากสัตว์ร้ายหรือโจรผู้ร้าย
การหยุดพักกรีด : ในฤดูแล้ง ใบไม้ผลัดใบหรือฤดูที่มีการผลิใบใหม่ จะหยุดพักการกรีดยาง
เนื่องจากมีผลต่อการเจริญเติบโตของใบและต้นยาง การกรีดยางในขณะที่ต้นยางเปียก จะทาให้เกิดโรค
เส้นดาหรือเปลือกเน่าได้
การเพิ่มจานวนกรีด : สามารถเพิ่มจานวนวันกรีดได้โดย
การเพิ่มวันกรีด : สามารถกรีดในช่วงผลัดใบแต่จะได้น้ายางในปริมาณน้อย ไม่ควรเร่งน้ายางโดยใช้
สารเคมีควรกรีดเท่าที่จาเป็นและในช่วงฤดูผลิใบต้องไม่มีการกรีดอีก
การกรีดยางชดเชย : วันกรีดที่เสียไปในฤดูฝนสามารถกรีดทดแทนได้แต่ไม่ควรเกินกว่า 2 วันในรอยกรีด
แปลงเดิม และสามารถกรีดสายในช่วงเวลา 6.00-8.00 น. หากเกิดฝนตกทั้งคืน
การกรีดสาย : เมื่อต้นยางเปียกหรือเกิดฝนตกสามารถกรีดหลังเวลาปกติโดยการกรีดสายซึ่งจะกรีด
ในช่วงเช้าหรือเย็นแต่ในช่วงอากาศร้อนจัดไม่ควรทาการกรีด
ว่านหางจระเข้
• ว่านหางจระเข้ เป็นต้นพืชที่มีเนื้ออิ่มอวบ จัดอยู่ในตระกูลลิเลี่ยมแหล่งกาเนิดดั้งเดิมอยู่ในชายฝั่งทะเล
เมดิเตอร์เรเนียนและบริเวณตอนใต้ของทวีปแอฟริกา พันธุ์ของว่านหางจระเข้มีมากมายกว่า 300 ชนิด
ซึ่งมีทั้งพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่มากจนไปถึงพันธุ์ที่มีขนาดเล็กกว่า 10 เซนติเมตร ลักษณะพิเศษของว่านหาง
จระเข้ก็คือ มีใบแหลมคล้ายกับเข็ม เนื้อหนา และเนื้อในมีน้าเมือกเหนียว ว่านหางจระเข้ผลิดอกในช่วง
ฤดูหนาว ดอกจะมีสีต่างๆกัน เช่น เหลือง ขาว และแดง เป็นต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพันธุ์ของมัน คาว่า "อะโล"
(Aloe) เป็นภาษากรีซโบราณ หมายถึงว่านหางจระเข้ ซึ่งแผลงมาจากคาว่า "Allal" มีความหมายว่า
ฝาดหรือขม ในภาษายิว ฉะนั้นเมื่อผู้คนได้ยินชื่อนี้ก็จะทาให้นึกถึงว่านหางจระเข้ ว่านหางจระเข้เดิมเป็น
พืชที่ขึ้นในเขตร้อนต่อมาได้ถูกนาไปแพร่พันธุ์ในยุโรปและเอเชีย และทุกวันนี้ทั่วโลกกาลังเกิดกระแสนิยม
ว่านหางจระเข้กันเป็นการใหญ่
โรคยางพารา
โรคยางพารา
เกิดจากเชื้อต่างๆ ที่เป็นสาเหตุ แบ่งตามลักษณะอาการของโรค ซึ่งทาให้ต้นยางมีอาการผิดปกติ ตามที่
ต่างๆ ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของ ต้นยาง ได้แก่
โรคใบ และฝัก เช่น
โรคราแป้ ง
สาเหตุของโรคราแป้ ง
เกิดจากเชื้อรา Oidium heveae Steinm.
อาการของโรคราแป้ ง
เชื้อราจะเข้าทาลายใบอ่อนที่เพิ่งแตกยอดออกมา ทาให้ใบอ่อนเน่าดา มีรูปร่างบิดงอและร่วงหล่น เหลือ
เฉพาะก้าน(ซึ่งจะเหี่ยวแล้วร่วงหล่นทีหลัง) หากเข้าไปสังเกตุในสวนยางขณะลมกระโชก จะเห็นใบอ่อน
ร่วงเต็มกระจายทั่วแปลง
การป้ องกันกาจัดโรคราแป้ ง
1.ในช่วงปลายฤดูฝน ให้ใส่ปุ๋ ยบารุงต้นยางที่มีธาตุไนโตรเจนสูงกว่าปกติ เพื่อเร่งให้ใบยางที่ผลิใหม่หลัง
ฤดูผลัดใบเพสลาดหรือแก่เร็วขึ้น
2.สาหรับต้นยางที่มีอายุไม่เกิน 2 ปีและเริ่มพบเชื้อระบาด ควรพ่นสารอินทรีย์หรือสารเคมี บริเวณใบที่
กาลังผลิยอดอ่อน
วิธีการดาเนินการ
อุปกรณ์
1.ต้นยาง
2.หว่านหางจระเข้
วิธีการทดลอง
1.ศึกษาค้นคว้าสมุนไพรที่มีคุณสมบัติสรรพคุณที่ช่วยในการสมานแผล
2.หาต้นยางที่ไม่อ่อนเกินไปไม่แก่เกินไปที่มีแผลหน้ายางที่จะนาสมุนไพรไปทดลอง3-4ต้น
3.นาหว่านหางจระเข้ได้จากการสกัดไปทดลองกับต้นยางที่เตรียมไว้
4.สังเกตและรอผล
5.บันทึกผลการทดลองครั้งที่1
6.ทดลองกับต้นยางครั้งที่2และ3
7.เปรียบเทียบผลการทดลอง
8.สรุปผลการทดลองที่เป็นไปได้มากที่สุด
ผลการศึกษาค้นคว้า
แต่ใช้หว่านหางจระเข้ในการรักษาหน้ายางนั้นได้ผลอยู่แต่อาจจะช้าบ้างแต่หว่านหางจระเข้ช่วย
ในการสมานแผลหน้ายางได้จริงแต่ระยะเวลาในการรักษานั้นยังช้าต้องใช้เวลานานกว่าจะออกฤทธิ์กว่า
จะรอให้หน้ายางแห้งเพื่อตัดต่อจึงค้นคว้าสมุนไพรที่มีคุณสมบัติและสรรพคุณที่สมานแผลหน้ายางต่อไป
และเนื่องจากฝนตกบ่อย
ข้อเสนอแนะ
สมุนไพรที่ช่วยสมานแผลหน้ายางทาให้ปริมาณน้ายางเพิ่มมากยิ่งขึ้นด้วยนั้นสามารถนาไปใช้กับ
ต้นยางทั่วๆไปทาให้รักษาสมานแผลของหน้ายางโดยไม่ต้องใช้สารเคมีอาจจะเห็นผลช้ากว่าสารเคมีแต่ก็
ทาให้ต้นยางนั้นไม่ตายเร็วมีอายุมากกว่าที่ใช้สารเคมีและต้องศึกษาสมุนไพรที่มีสรรพคุณที่ช่วยในเรื่อง
การรักษาแผลหน้ายาง ช่วยให้คนภาคใต้มีผลผลิตน้ายางที่เพิ่มมากขึ้น
จัดทาโดย
นางสาวศิรินทรา ทรายแก้ว เลขที่ 34
นางสาวสุนัฐฐา พินิจ เลขที่ 37
มัธยมศึกษาปีที่4/8
ชิ้นงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงานIS
ปีการศึกษา2557 ภาคเรียนที่2
โรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี
เสนอ
อาจารย์ดวงสมร คาเงิน
จัดทาโดย
นางสาวศิรินทรา ทรายแก้ว เลขที่ 34
นางสาวสุนัฐฐา พินิจ เลขที่ 37
มัธยมศึกษาปีที่4/8

More Related Content

โครงงานสารสกัดสมุนไพรรักษาแผลหน้ายาง พาวเวอร์พอย