ݺߣ
Submit Search
บทคัดย่อการพัฒนารูปแบบการ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะ
•
Download as DOCX, PDF
•
0 likes
•
193 views
Noppawan Chantasan
Follow
ว่าที่ร้อยตรีหญิงนพวรรณ์ ไชยชนะ
Read less
Read more
1 of 3
Download now
Download to read offline
More Related Content
บทคัดย่อการพัฒนารูปแบบการ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะ
1.
ชื่องานวิจัย การพัฒนารูปแบบการ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสาหรับผู้เรี ยนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ผู้วิจัย
ว่าที่ร้อยตรีหญิงนพวรรณ์ ไชยชนะ ปีการศึกษา 2556 บทคัดย่อ ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง นี้ เ ป็ น ก า ร พั ฒ น า รู ป แ บ บ ก า ร จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อสร้างเสริมทักษะชีวิตสาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึก ษ า ปี ที่ 5 วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ห ลั ก เพื่อการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และมีวัตถุประสงค์เฉพาะดังนี้ 1. เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐาน การจัดการเรีย นรู้วิท ยาศ าสตร์เชิง ป ระสบ การณ์ในการเสริมสร้างทักษะชีวิต สา ห รับ ผู้ เรีย น ชั้น ป ร ะถ ม ศึ ก ษ าปี ที่ 5 1 .1 เพื่ อ ศึ ก ษ าแ น ว คิด ท ฤ ษ ฏี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเสริมสร้างทักษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 1.2 เพื่อสอบถามความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ . เพื่อสร้างและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะ ชี วิ ต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 3 . เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 4 . เพื่อประเมินผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษ ะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยมีวัตถุประสงค์ย่อยของการประเมิน ดังนี้ 4.1 เพื่อเป รียบ เทีย บ ความรู้เกี่ย วกับทักษะชีวิต ก่อนและห ลังการใช้รูป แบ บ 4.2 เพื่ อเป รีย บ เที ย บ พ ฤติก รรมทั กษ ะชีวิต ก่ อน และห ลัง ก ารใช้รูป แบ บ 4.3 เพื่อประเมินความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเ สริมสร้างทักษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนเทศบาล 2 วัดชัยมงคล สังกัดเทศบาลเมืองบางมูลนาก อาเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร จานวน 21 คน ที่ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้าง ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 มี ดั ง นี้ 1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 (4AS Model) 2. เครื่องมือประกอบการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทั
2.
ก ษ ะ
ชี วิ ต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 (4AS Model) ได้แก่คู่มือการใช้ประกอบรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้าง ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 3. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการจัดกาเรียนรู้ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาส ตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (4AS Model) จานว น 3 ฉบั บ คื อ 1 . แ บ บ วั ด ค ว าม ส าม า รถ ใน ก ารใช้ ทั ก ษ ะ ชี วิ ต 2 . แ บ บ วั ด พ ฤ ติ ก ร ร ม ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ข อ ง ผู้ เ รี ย น 3.แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิง ประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (4AS Model) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1 . ผลการหาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้า งทักษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 พบว่าคะแนนของนักเรียนระหว่างเรียน คะแนนรวมเฉลี่ยเท่ากับ 66.44 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.85 คิดเป็นร้อยละ 83.06 และคะแนนของนักเรียนทดสอบหลังเรียนได้คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 132.33 คะแนน ส่ ว น เ บี่ ย ง เ บ น ม า ต ร ฐ า น เ ท่ า กั บ 1.80 คิ ด เ ป็ น ร้ อ ย ล ะ 82.71ดังนั้นรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต ส า ห รับ ผู้ เ รีย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 มี ป ร ะ สิท ธิภ า พ 83.06/82.71 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้นาไปใช้ได้ 2. เปรียบเทียบคะแนนความสามารถในทักษะการใช้ชีวิต ใน ก า ร ท ด ส อ บ ก่ อ น เรีย น แ ล ะ ห ลัง เ รีย น ข อ ง นั ก เ รีย น ที่ เ รีย น ด้ ว ย รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิง ประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 ( 4 AS Model) พ บ ว่ า ค ะ แ น น ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รีย น ไ ด้ ค ะ แ น น เ ฉ ลี่ ย เ ท่ า กั บ 13.81 คะแนนส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.72 ทดสอบหลังเรียนได้คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 17.86 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .73 เมื่อทดสอบความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบที (t- test) พบว่าคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. เปรียบเทียบพฤติกรรมทักษะชีวิตของผู้เรียนในการประเมินก่อนเรียนและหลัง เรียน ข อ ง นั ก เ รี ย น ที่ เ รี ย น ด้ ว ย รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิต ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 ( 4 AS Model)พ บ ว่ าค ะแนน ป ระเมินก่ อนเรีย นได้ค ะแนนเฉลี่ย เท่ ากับ 2.97ค ะแน น ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .41 ทดสอบหลังเรียนได้คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.26 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .50 เมื่อทดสอบความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบที (t-test) พบว่าคะแนนประเมินเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4.
3.
เปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้เรียนในการประเมินหลังเรียนกับเกณฑ์ 3.50 ของ นั
ก เ รี ย น ที่ เ รี ย น ด้ ว ย รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เชิงประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทั กษะชีวิต สาหรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (4AS Model) พบว่า หลังเรียนคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 4.25 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .31 เมื่อทดสอบความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบที (t- test) พบว่าคะแนนประเมินเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ระดับ .05
Download