ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ลายผ้าไหมไทย
Thailand of Silk
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวธมนวรรณ เพ็ญไชยา เลขที่ 1
2.นางสาวปภัชญา จักรชัยสิน เลขที่ 9
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
: ลายผ้าไหมของไทย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
: Thailand of Silk
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการเรียนรู้
ชื่อผู้ทำาโครงงาน
น.ส. ธมนวรรณ เพ็ญไชยา เลขที่ 1
น.ส.ปภัชญา จักรชัยสิน เลขที่ 9
ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำาเนินงาน : 3 เดือน
ที่มาและความสำาคัญของโครง
งานผ้าไหมไทยได้รับการยอมรับว่าเป็นราชินีของ
เส้นใยทั้งหมดที่มีอยู่ในโลกปัจจุบัน ผ้าไหมหรือ
ผลิตภัณฑ์จากไหมนั้นบอบบาง จึงต้องปฏิบัติ
รักษาอย่างพิถีพิถันอย่างน้อยทุกคนก็ทราบดีอยู่
แล้วว่า คุณสมบัติต่าง ๆ ที่จะต้องปฏิบัติรักษา
เคลื่อนย้ายอย่างระมัดระวัง ความสุข ความเบา
สบาย ความภูมิใจ จะไม่เกิดขึ้นเลย ถ้าเราจะไม่
ทำาการรักษาคุณภาพอันดีเลิศของผลิตภัณฑ์ จาก
ไหมทุกชนิดให้อยู่ในสภาพที่น่าหยิบ น่าเป็น
เจ้าของและน่าสวมใส่ ผ้าไหมไทย... คุณค่าสู่
สากลเนื่องจากปัจจุบันคนในประเทศไทยไม่ค่อย
รู้จักลายของผ้าไหมไทยอย่างลึกซึ้งและไม่ได้ให้
ความสำาคัญกับรายละเอียดต่างๆของผ้าไหมไทย
วัตถุประสงค์
เพื่อให้คนหันมาสนใจและให้ความสำาคัญกับผ้าไหม
และอนุรักษ์พร้อมทั้งสืบต่อไปยังคนรุ่นหลังต่อไป
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลรู้และเข้าใจเรื่องลายผ้าไหม
ไทยเพื่อนำามาศึกษาและทำาโครงงานเผยแพร่
หลักการและทฤษฎี
ผ้าไหมไทยเป็นที่สนใจไปทั่วโลกแต่คนไทยยังไม่รู้
จักดีนักโดยเฉพาะลายของผ้าไหมไทยซึ่งมี
มากมายจึงสนใจที่จะนำาลายของผ้าไหมไทยมา
ทำาเป็นโครงงานเพื่อให้ผู้คนได้รู้จัก
ประวัติผ้าไหมไทย
ผ้าไหมไทย เป็นผ้าไหม
ซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว แตก
ต่างจากผ้าไหมทั่วไป กล่าวคือ มีแสงแวว
วาวเป็นมันเลื่อมเนื้อผ้าฟูไม่เรียบ อ่อน
นุ่ม มีนำ้าหนัก บางชนิด
เป็นปุ่มปมอันเนื่องมาจากระดับคุณภาพซึ่งเกิด
ในกระบวนการผลิตแต่ก็ทำาให้ได้รับความนิยม
ของคนบางกลุ่มเพราะดูแล้วมีความแปลกตา
ผ้าไหมมีถิ่นกำาเนิดในประเทศจีนและประเทศอินเดีย
 การทอผ้าไหมมีขึ้นราว 2,640 ปี ก่อนคริสตกาล
พ่อค้าชาวจีนได้เผยแพร่ผ้าไหมสู่พื้นที่อื่นในแถบ
เอเชีย สำาหรับประเทศไทยนักโบราณคดีพบหลัก
ฐานที่แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงซึ่งบ่งชี้ว่ามีการ
ใช้ผ้าไหมเมื่อ 3,000 ปีก่อน
การทอผ้าไหมในประเทศไทยในอดีตมีการทำากันใน
ครัวเรือนเพื่อใช้เอง หรือทำาขึ้นเพื่อใช้ในงานพิธี
เช่น งานบุญ งานแต่งงาน ต่อมาในรัชสมัยของ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาล
ที่ 5) ได้ส่งเสริมให้ใช้ผ้าไหม ส่วนการปลูกหม่อน
เพื่อเลี้ยงไหมได้รับการสนับสนุนจาก
ประเทศญี่ปุ่น แต่การดำาเนินงานของโครงการก็
หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้ง
สำาคัญของผ้าไหมไทยขึ้น โดย เจมส์ แฮร์ริสัน วิสสัน
ทอมป์สัน ชาวสหรัฐอเมริกาหรือที่คนไทยรู้จักในนาม
 ว่า จิม ทอมป์สัน ซึ่งเป็นผู้ที่ให้ความสนใจผลงาน
ด้านศิลปะ ในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย
รวมทั้งลาว และเขมร จิม ทอมป์สัน ได้ซื้อผ้าไหม
ไทยลวดลายต่างๆ เก็บสะสมไว้ และทำาการศึกษา
ลวดลายผ้าไหมในหมู่บ้านที่เป็นแหล่งการผลิตผ้า
ไหม พร้อมกับเสาะแสวงหาช่างทอผ้าไหมฝีมือดี ใน
ที่สุดได้พบช่างมีฝีมือถูกใจที่กรุงเทพมหานคร
บริเวณชุมชนบ้านครัว (หลังโรงแรมเอเชีย เขต
ราชเทวีในปัจจุบัน) ชุมชนแห่งนี้เดิมเป็นชาวมุสลิม
เชื้อสายเขมร อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ตั้งแต่ตอนต้นกรุง
รัตนโกสินทร์ มีความชำานาญในการทอผ้าไหม ซึ่ง
จิม ทอมป์สัน ได้เข้ามาสนับสนุนให้ชาวบ้านใน
ระดับคุณภาพ
ในปัจจุบันมีการนำาเข้าวัตถุดิบเส้นไหม
และเส้นใยสังเคราะห์จากต่างประเทศ ทั้งมี
การนำาเข้าถูกกฎหมายและลักลอบนำาเข้าแบบ
ผิดกฎหมาย ทำาให้วัตถุเส้นไหมจึงมีทั้งคุณภาพ
ได้มาตรฐานและคุณภาพตำ่ากว่ามาตรฐานทำาให้
ผ้าไหมไทยมีคุณภาพตำ่าลง กระนั้นผู้ผลิตก็ยัง
คงใช้ตราสัญลักษณ์ว่า "ผ้าไหมไทย" หรือ
"Thai Silk" เพื่อการค้า ยังผลให้ผู้ซื้อทั้งของ
ประเทศไทยและตลาดต่างประเทศไม่มั่นใจใน
คุณภาพของผ้าไหมไทย จากปัญหาดังกล่าว
 ปี . . 2545พ ศ  หน่วยงานซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้อง
 กับผ้าไหมไทย เช่น กรมวิชาการเกษตร 
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (หน่วยงานเดิมของ
กรมหม่อนไหม)  คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 
กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ และ
มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พร
ร่วมกันจัดสัมมนาหาแนวทางแก้ไขจนได้ข้อสรุป
เป็นมาตรการคุ้มครองไหมไทยและออกข้อบังคับ
ในการผลิตผ้าไหมไทยโดยออกตราสัญลักษณ์
รับรองคุณภาพผ้าไหมไทยไว้เป็นระดับต่างๆ และ
สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระ
นกยูงสีทอง (Royal Thai Silk) เป็นผ้าไหมชึ่งผลิตจากวัตถุดิบ เส้น
ไหม กระบวนการผลิตแบบภูมิปัญญาพื้นบ้านดั้งเดิมของไทย
อย่างแท้จริงและใช้เส้นไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้านเป็นทั้งเส้นพุ่งและ
เส้นยืน เส้นไหมจะต้องสาวเส้นด้วยมือผ่านพวงสาวลงภาชนะ
การทอด้วยกี่ทอมือแบบพื้นบ้านชนิดพุ่งกระสวยด้วยมือ ย้อมด้วย
สีธรรมชาติ หรือสีเคมีที่ไม่ทำาลายสิ่งแวดล้อม และต้องผลิตใน
ประเทศไทย
นกยูงสีเงิน (Classic Thai Silk) เป็นผ้าไหมซึ่งผลิตขึ้นแบบ
ภูมิปัญญาพื้นบ้านผสมผสานกับการประยุกต์ใช้เครื่องมือและ
กระบวนการผลิตในบางขั้นตอน ใช้เส้นไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้าน
หรือที่ได้รับการปรับปรุงจากพันธุ์ไทยเป็นเส้นพุ่งหรือเส้นยืน เส้น
ไหมต้องผ่านการสาวด้วยมือ หรืออุปกรณ์ที่ใช้มอเตอร์ขับเคลื่อน
ขนาดไม่เกิน 5 แรงม้า การทอต้องทอด้วยกี่ทอมือชนิดพุ่ง
กระสวยด้วยมือหรือกี่กระตุก และต้องทำาการผลิตในประเทศไทย
นกยูงสีนำ้าเงิน (Thai Silk) เป็นผ้าไหมซึ่งผลิตด้วยภูมิปัญญาของ
ไทยโดยการประยุกต์เทคโนโลยีการผลิตให้เข้ากับสมัยนิยมและ
ทางธุรกิจธุรกิจ ใช้เส้นไหมแท้เป็นเส้นพุ่งและเส้นยืน ย้อมสีด้วย
สีธรรมชาติ หรือสีเคมีที่ไม่ทำาลายสิ่งแวดล้อม ทอด้วยกี่แบบใด
ก็ได้ และต้องผลิตในประเทศไทย
นกยูงสีเขียว (Thai Silk Blend) เป็นผ้าไหมซึ่งผ่านกระบวนการ
ผลิตและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ผสมผสานกับภูมิปัญญาไทย เช่น
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
คนที่ได้ศึกษาโครงงานผ้าไหมไทยได้ตระหนัก
และเรียนรู้เรื่องผ้าไหมไทยมากขึ้นและได้ช่วยกัน
อนุรักษ์ผ้าไหมไทยให้เป็นเอกลักษณ์ของไทยเพื่อให้
คนรุ่นหลังได้ศึกษาอนุลักษณ์ความเป็นไทยต่อไป
ภาคผนวก
ลายผ้าไหมไทย
 ลายกาบบัวยกดอก บ้านโนนสวาง อ.กุดข้าวปุ้น
ผ้ากาบบัวยกดอกซึ่งทอได้หลายสี
ลายโป้งเป้ง บ้านโนนสวาง อ.กุดข้าวปุ้น
 ลายเชิงเทียน จากบ้านโนนสวาง อ.กุดข้าวปุ้น
ลายหมี่ลายกระจับ (ลายโบราณ) บ้านโนนสวาง
อ.กุดข้าวปุ้น
ลายนาคน้อย(เสี่ยว) บ้านปะอาว อ.เมือง
ลายหมี่ดาวล้อมเดือน (กระจับวง) บ้านโนนสวาง
อ.กุดข้าวปุ้น
ลายหมี่ข้อในตัว บ้านโนนสวาง อ.กุดข้าวปุ้น
ลายหมี่เข็มขัด บ้านโนนสวาง อ.กุดข้าวปุ้น
ลายคมห้า(หว่าน) บ้านปะอาว อ.เมือง
ลายสร้อยดอกหมาก บ้านโนนสวาง อ.กุดข้าวปุ้น
อ้างอิง
-เอกลักษณ์ไหมไทย
-กระโดดขึ้น↑ Silk FAQ 29:Who discovered silk?
(อังกฤษ)
-กระโดดขึ้น↑ ตำานานไหมไทย
-  กระโดดขึ้น↑ **เครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ผ้า
ไหมไทย**“ ”ตรานกยูงพระราชทาน
-  กระโดดขึ้น↑ Ministry adjusts image of Thai silk
to meet changing taste of international
marketMCOT Thailand(อังกฤษ)

More Related Content

โครงงาȨายผ้าไหมไทย