ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
1.ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system เรียกย่อ ๆ ว่า CNS)
ได้แก่ สมอง และไขสันหลัง
2.ระบบประสาทรอบนอก ( peripheral nervous system เรียกย่อว่า PNS
โครงสร้างของระบบประสาท
1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system เรียกย่อ ๆ ว่า CNS) ศูนย์กลาง
ของระบบประสาท ในสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้งหมด คือ สมอง และไขสันหลัง ซึ่งมีกาเนิดมาจาก
เนื้อเยื่อเอกโตเดิร์ม ในระยะเอ็มบริโอการเกิดของสมอง และไขสันหลัง เริ่มโดยเปลี่ยนแปลงมา
จากนิวรัลทิลบ์ (Neural tube) ซึ่งมีลักษณะเป็นหลอดยาวไปตามแนวสันหลัง ต่อมาส่วนหน้า
พองออกเป็นสมอง ส่วนตอนท้ายมีการเปลี่ยนแปลงไม่มาก ยังคงเป็นหลอดยาวกลายเป็นไขสัน
หลังทั้งสมองและไขสันหลัง มีเยื่อหุ้มชิ้นเดียวกันเรียกว่า เยื่อเมนนิงจิส (Meninges)เยื่อนี้
ประกอบด้วยชั้นต่าง ๆ 3 ชั้น คือ
ชั้นนอกสุด มีลักษณะหนา เหนียว แข็งแรงมาก เรียกว่า ดูรา มาเตอร์ (Dura
mater)ทา หน้าที่ป้องกันการกระทบกระเทือน
ชั้นกลาง เป็นเยื่อบาง ๆ เรียกว่า อแรชนอยด์ มาเตอร์ (Arachnoid mater)
ชั้นในสุด เป็นชั้นที่มีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงมากมาย นาอาหารและออกซิเจนมาเลี้ยง
เนื้อเยื่อสมองและไขสันหลัง เรียกว่า เพียมาเตอร์ (Pia mater) ระหว่างชั้นกลางกับ
ชั้นในมีช่องบรรจุของเหลว เรียกว่า น้าหล่อเลี้ยงสมอง- ไขสันหลัง (Cerebro-spinal
fluid) ช่องนี้ เรียกว่า ช่องซับอะแรชนอยด์ (Subarachnoid space) โดยจะเป็นช่อง
ติดต่อกันตลอดและมีทางติดต่อกับช่องตามยาวในไขสันหลัง (Central canal)ติดต่อกับ
โพรงในสมอง (Ventricle) ดังนั้นน้าไขสันหลัง จึงไหลเวียนติดต่อกันหมด น้าไขสัน
หลังสร้างจากเลือดฝอย ในบริเวณโพรงสมองวันละประมาณ 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร
แต่จะเหลืออยู่ในช่องต่างๆ ไหลเวียนอยู่ประมาณ 120–150 ลูกบาศก์เซนติเมตร โดยมี
บางส่วนไหลเวียนเข้าสู่ระบบหมุนเวียนของเลือด น้าหล่อเลี้ยงสมอง ไขสันหลังมีหน้าที่
หล่อเลี้ยงให้สมองและไขสันหลังเปียกชื้นอยู่เสมอและนาอาหารมาเลี้ยงเซลล์ประสาทและ
นาของเสียออกจากเซลล์ด้วย
สมอง (Brain)
สมองเป็นส่วนที่ใหญ่กว่าส่วนอื่น ๆ ของระบบประสาทกลาง มีลักษณะ
เป็นหลอดที่พองออกเต็มกะโหลกศีรษะ ผนังของหลอดประกอบด้วย
เซลล์ประสาท (Neuron) และเยื่อเกี่ยวพัน (Neuroglia)
• ส่วนนอกของสมองเป็นเนื้อสีเทา เรียกว่า เกรย์แมตเตอร์ (Gray
matter)ซึ่งเป็นที่รวมของเส้นประสาท และแอกซอนที่ไม่มีเยื่อ
ไมอีลินหุ้ม เห็นโพรโทพลาซึมได้ชัด จึงมีสีเทา
• ส่วนในของสมองเป็นเนื้อสีขาว เรียกว่า ไวท์แมตเตอร์ (White
matter)ซึ่งเป็นที่รวมของเส้นประสาทที่งอกจากเซลล์ประสาท
เนื่องจากไมอิลินมีลิพิดเป็นองค์ประกอบเซลล์จึงมีสีขาว
ในสัตว์มีกระดูกสันหลังต่างชนิดกันจะมีขนาดของสมอง 3 ส่วนนี้ไม่เท่ากัน เช่น พวกปลา
มีสมองส่วนหน้าเล็ก เมื่อเทียบกับขนาดสมองทั้งหมด ส่วนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจะมีสมองส่วน
หน้าขนาดใหญ่มาก เมื่อเทียบกับขนาดสมองทั้งหมด
สมองของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ประกอบด้วย บริเวณสาคัญมากมาย ซึ่งแบ่งออกเป็น
สมองส่วนหน้า (Forebrain) สมองส่วนกลาง (Midbrain) สมองส่วนท้าย(Hindbrain)
ส่วนประกอบของสมองมี ดังนี้
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
ไขสันหลัง (spinal cord)
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
สัตว์เซลล์๶ึϸยวบางชȨด
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
2.2.4 ระบบประสาทของไส้เดือน (earth worm) ไส้เดือนมีระบบประสาทซึ่งประกอบด้วย
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
2.2.5 ระบบประสาทของหนอนตัวกลม (roundworm)
การรับรู้และการตอบสนอง
2.26 ระบบประสาทแมลง (insect) แมลงมีระบบประสาทที่พัฒนาไปมาก
โดยประกอบด้วย
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
2.2.7 ระบบประสาทของดาวทะเล
ดาวทะเล (sea star) มีระบบประสาทที่ประกอบด้วย
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
2.3 เซลล์ประสาท (nerve cell)
ร่างกายคนมีเซลล์ประสาท (nerve cell) หรือ นิวรอน (neuron)
จานวนมาก ทาหน้าที่เกี่ยวกับการรับรู้และการตอบสนอง แต่ละเซลล์อาจมี
การเชื่อมโยงเกี่ยวพันกับเซลล์ประสาทอื่นเป็นพันๆ เซลล์ สามารถทางาน
เกี่ยวกับการรับส่งสัญญาณ ระหว่างสิ่งเร้าภายนอกกับภายในร่างกายได้
อย่างมีระบบ
ส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์ประสำทมี 2 ส่วนคือ
1. ตัวเซลล์ (cell body) มีรูปร่างหลายแบบ เช่น กลม รีหรือเป็น
เหลี่ยมตัวเซลล์เป็นส่วนของไซโทพลาซึมและนิวเคลียส มีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางประมาณ 4-25 ไมโครเมตร ภายในมีออร์แกเนลล์ที่สาคัญ คือ ไมโท
คอนเดรีย เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมและกอลจิคอมเพล็กซ์จานวนมาก
2. ใยประสำท (nerve fiber) เป็นส่วนของเซลล์ที่ยื่นออกมาจาก
ตัวเซลล์มีลักษณะเป็นแขนงเล็กๆใยประสาทที่นากระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์
เรียกว่า
เดนดรต์ (dendrite)ใยประสาทที่นากระแสประสาทออกจากตัว
เซลล์เรียกว่า
แอกซอน (axon) เซลล์ประสาทแต่ละเซลล์จะมี เดนไดรต์แยกออก
จากตัวเซลล์หนึ่งใยหรือหลายใย ส่วนแอกซอนมีเพียงใยเดียวเท่านั้น
1. เซลล์ประสำทขั้วเดียว
( Unipolar neuron )
มีใยประสาทออกจากตัวเซลล์เพียงเส้นเดียว
แล้วแยกออกเป็น 2 กิ่ง กิ่งหนึ่งเป็นเดนไดรต์
อีกกิ่งหนึ่งเป็นแอกซอน
ชนิดของเซลล์ประสาท
เซลล์ประสาทแบ่งตามลักษณะรูปร่าง ออก
ได้ 3 ประเภท คือ
2. เซลล์ประสำทชนิดสองขั้ว (Bipolar
neuron) มีใยประสาทออกจากตัวเซลล์2เส้น ยาว
เท่าๆ กัน หรือใกล้เคียงกัน เส้นหนึ่งเป็นเดนไดรต์อีก
เส้นหนึ่งเป็นแอกซอน
3. เซลล์ประสำทหลำยขั้ว
( Multipolar neuron ) มีใยออกจากตัวเซลล์
หลายเส้น ประกอบด้วยเดนไดรต์แตกแขนงสั้น ๆ
มากมาย และแอกซอนยาวเพียงเส้นเดียว
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
เซลล์ประสาทแบ่งตามทิศทางการนาสัญญาณประสาท แบ่งออกได้ 4 ชนิด คือ
ไซแนปส์ (Synapse)
เซลล์ประสาทไม่ได้อยู่เดี่ยวๆ
แต่จะสานต่อกันเป็นเครือข่าย ปลายแอกซอนของเซลล์ประสาท
อาจแตกออกเป็นกิ่งก้านหลายอัน แล้วไปอยู่ชิดกับตัวเซลล์
ประสาทหรือส่วนของ เดนไดรต์ของเซลล์ประสาทอื่นหรือเซลล์
กล้ามเนื้อหรือหน่วยปฏิบัติงาน เพื่อถ่ายทอดกระแส
ประสาท บริเวณที่อยู่ชิดกันนั้นเรียกว่า ไซแนปส์ (synapse)
หน้าที่ของ “ไซแนปส์”
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การทางานของ
เซลล์ประสาท
การรับรู้และการตอบสนอง


การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างภายนอกและภายในเซลล์ประสาท
ที่มา : Campbell, Williamson, Heyden. Biology Exploring Life. 2004 : 613
แสดงโซเดียมโพแทสเซียมปั๊ม
ที่มา : Miller, Levine. Prentice Hall Biology. 2006 : 968
 
แสดงการเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าขณะที่เซลล์ถูกกระตุ้น
ที่มา : Campbell, Williamson, Heyden. Biology Exploring Life. 2004 : 36
การนากระแส
ประสาท มี 2 ประเภท
การเคลื่อนที่ྺองกระแสประสาทไป
ตามแอกซอนที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม
ที่มา : Campbell, Williamson,
Heyden. Biology Exploring
Life. 2004 : 614
การรับรู้และการตอบสนอง
การเคลื่อนที่ྺองกระแสประสาทไป
ตามแอกซอนที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม
ที่มา : Campbell, Williamson, Heyden.
Biology Exploring Life. 2004 : 615
การเคลื่อนที่ྺองกระแสประสาท
การทางาน
ของระบบประสาทสั่งการ
การรับรู้และการตอบสนอง
การทางานของระบบประสาทสั่งการ แบ่งตามลักษณะโครงสร้าง
แบ่งได้ 2 ระบบคือ
การรับรู้และการตอบสนอง
1. ระบบประสาทโซมาติก (Somatic nervous system เรียกย่อ ๆว่าSNS)
ประเภทของรีเฟล็กซ์ แอกชัน (Reflex action)
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
2. ระบบประสาทอัตโนวัติ (Autonomic nervous system เรียกย่อๆว่าANS)
การทางานของระบบประสาทอัตโนวัติ
2.1. ระบบประสาทซิมพาเทติก
(Sympathetic nervous System)
ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
(Parasympathetic nervous system)
ชื่ออวัยวะ
ประสาทพาราซิมพาเทติก
(สภาวะพักหรือสบาย ๆ )
ประสาทซิมพาเทติก
( สภาวะการเตรียมพร้อม )
อวัยวะรับความรู้สึก
จมูก
ตา
ผิวหȨงลิ้น
หู
จมูก
จมูก
กระเปาะรับกลิ่น
ลิ้น
ตุ่มรับรส
การรับรู้และการตอบสนอง
ผิวหȨง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
หู ( ears ) ทาหน้าที่ได้ยินหรือรับฟัง ( phonoreceptor ) โดย
สามารถแยก ความแตกต่างของคลื่นเสียงได้และทาหน้าที่ทรงตัวกับ
รักษาสมดุลของร่างกาย (statoreceptor )หูแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
1. หูส่วนนอก ( external ear ) ประกอบด้วย
การรับรู้และการตอบสนอง
2. หูส่วนกลาง (middle ear)
3. หูส่วนใน ( internal ear )
ซึ่งประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ คือ
การรับรู้และการตอบสนอง
ระึϸบความดังของเสียง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การไึϹยิȨสียง
•
Ȩยน์ตา
การรับรู้และการตอบสนอง
ประกอบด้วยผนังหุ้มตา 3 ชั้น คือ
โครอยด์แบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ
การรับรู้และการตอบสนอง
3. ชั้นในหรือเรตินา (retina) เป็นชั้นอยู่ในสุดของลูกตา ประกอบด้วยเซลล์ 3 ชั้น
คือ
ตาแหน่ง
รับภาพที่เรตินา
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
สายตาที่ผิดปกติ สายตาผิดปกติที่เป็นกันมากและพบได้บ่อย ได้แก่
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
บรรณานุกรม
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง

More Related Content

การรับรู้และการตอบสนอง