ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
มวยไทย
มวยไทย มรดกไทย - มรดกโลก
มวยไทยเป็นกีฬาเก่าแก่ของไทยเป็นที่นิยมของ
ประชาชนทุกชั้นทุกสมัย ในชั้นต้นมวยไทยไม่ได้มีกติกา
เป็นลายลักษณ์อักษร แต่นายสนามย่อมชี้แจงให้นักมวย
คู่แข่งขันทราบถึงหลักเกณฑ์ในการแข่งขันนั้นๆ
หลักเกณฑ์ต่างๆเหล่านี้เมื่อได้ใช้กันมากขึ้นก็กลายเป็น
ประเพณี และใช้เป็นหลักเกณฑ์สาหรับการแข่งขันใน
เวลาต่อมาฯ
 ประวัติความเป็ นมาของมวยไทย
 มวยไทยเริ่มขึ้นในสมัยไม่ปรากฏ และไม่มีหนังสือเล่มใดเขียนไว้ว่าจะเกิดขึ้นในสมัยใด แต่เท่าที่
ได้ปรากฏนั้นมวยไทยได้เกิดขึ้นมานานแล้วและอาจเกิดขึ้นมาพร้อมๆกับชาติไทย เพราะมวย
ไทยนั้นเป็นศิลปประจาชาติไทยเราจริงๆยากที่ชาติอื่นจะลอกเลียนแบบได้
 มวยไทยในสมัยก่อนเท่าที่ทราบจะมีการฝึกฝนอยู่ในบรรดาหมู่ทหาร เพราะในสมัยก่อนไทยเรา
ได้มีการรบพุ่งและสู้รบกันกับประเทศเพื่อนบ้านบ่อยครั้ง การสู้รบในสมัยนั้นยังไม่มีปืนจะสู้กัน
แต่ดาบสองมือและมือเดียว เมื่อเป็นเช่นนี้การรบพุ่งก็มีการรบประชิดตัว คนไทยเห็นว่าในสมัย
นั้นการรบด้วยดาบเป็นการรบพุ่งที่ประชิดตัวมากเกินไปบางครั้งคู่ต่อสู้อาจเข้ามาฟันเราได้ง่าย
คนไทยจึงได้ฝึกหัดการถีบและเตะคู่ต่อสู้เอาไว้เพื่อคู่ต่อสู้จะได้เสียหลักแล้วเราจะได้เลือกฟันง่าย
ขึ้นทาให้คู่ต่อสู้แพ้ได้
 ต่อมาเมื่อในหมู่ทหารได้มีการฝึกถีบเตะแล้วก็เกิดมีผู้คิดว่าทาอย่างไรจึงจะใช้การถีบเตะนั้นมา
เป็นศิลปสาหรับการต่อสู้ด้วยมือได้ จึงต้องให้มีผู้ที่จะคิดจะฝึกหัดการต่อสู้ป้องกันตัวสาหรับการ
ใช้แสดงเวลามีงานเทศกาลต่างๆไว้อวดชาวบ้านและเป็นของแปลกสาหรับชาวบ้าน เมื่อเป็น
เช่นนี้นานเข้า ชาวบ้านหรือคนไทยได้เห็นการถีบเตะแพร่หลายและบ่อยครั้งเข้า จึงทาให้ชาวบ้าน
มีการฝึกหัดมวยไทยกันมากจนถึงกับตั้งเป็นสานักฝึกกันมากมาย แต่สาหรับที่ฝึกมวยไทยนั้นก็
ต้องเป็นสานักดาบที่มีชื่อดีมาก่อนและมีอาจารย์ดีไว้ฝึกสอน
ดังนั้นมวยไทยในสมัยนั้นจึงฝึกเพื่อความหมาย ๒ อย่างคือ
 ๑. เพื่อไว้สาหรับสู้รบกับข้าศึก
 ๒. เพื่อไว้ต่อสู้ป้ องกันตัว
 ในสมัยนั้นใครมีเพลงดาบดีและเก่งกาจทางรบพุ่งนั้นจะต้องเก่งทางมวย
ไทยด้วย เพราะเวลารบพุ่งนั้นต้องอาศัยมวยไทยเข้าช่วย ดังนั้นวิชามวย
ไทยในสมัยนั้นจึงมุ่งหมายที่จะฝึกฝนเพลงดาบและวิชามวยไทยไป
พร้อมๆกันเพื่อที่จะรับใช้ประเทศชาติด้วยการเป็ นทหารได้เป็ นอย่างดี
 แต่เมื่อพ้นจากหน้าสงครามก็จะมีการชกมวยกันเพื่อความสนุกสนาน และ
มีการพนันขันต่อกันระหว่างนักมวยที่เก่งจากหมู่บ้านหนึ่งกับนักมวยที่เก่ง
จากอีกหมู่บ้านหนึ่งมาชกกันในหน้าที่มีงานเทศกาล หรือเกิดมีการท้าทาย
กันขึ้นและมีการพนันขันต่อ มวยในสมัยนั้นชกกันด้วยหมัดเปล่าๆยังไม่มี
การคาดเชือก เช่น สมัยอยุธยาตอนต้น ในสมัยนั้นคนไทยที่ทาชื่อเสียง
ให้กับประเทศในวิชามวยไทยมากที่สุดคือนายขนมต้ม ซึ่งได้ใช้วิชามวย
ไทยต่อสู้พม่าถึง ๑๐ คนและพม่าก็ได้แพ้นายขนมต้มหมดทุกคน จนถึง
กับกษัตริย์พม่าพูดว่า
 "คนไทยถึงแม้ว่าจะไม่มีดาบ แม้แต่มือเปล่าก็ยังมีพิษสงรอบตัว"
 นายขนมต้มจึงเปรียบเสมือนผู้เป็นบิดาของวิชามวยไทยเพราะทาให้คนไทยมีชื่อเสียง
เกี่ยวกับวิชามวยไทยเป็นอันมากในสมัยนั้น และชื่อเสียงก็ได้เลื่องลือมาจนถึงกับปัจจุบัน
นี้
 ในสมัยต่อมามวยไทยก็ยังฝึกฝนคู่กับการฝึกเพลงดาบอยู่และยังฝึกและใช้เพื่อการทา
สงครามและฝึกฝนเพื่อการต่อสู้ป้องกันตัว บางทีก็ฝึกเพื่อชกในงานเทศกาลต่างๆ ใน
สมัยอยุธยาตอนปลายพระมหากษัตริย์ของไทยบางพระองค์มีฝีมือในทางมวยไทยอยู่มาก
เช่น พระเจ้าเสือหรือขุนหลวงสรศักดิ์ ซึ่งได้หนีออกจากพระราชวังไปชกมวยกับชาวบ้าน
และชกชนะด้วย ต่อมาประชาชนทราบและเห็นว่าพระองค์ก็เป็นผู้มีฝีมือในวิชามวยไทย
อยู่ในขั้นดีเยี่ยม ในสมัยต่อมา ผู้ที่มีฝีมือในทางมวยไทยก็มีมาก เช่น พระเจ้าตากสิน
 วิชามวยไทยได้ยั่งยืนมาจนถึงสมัยปัจจุบัน และในสมัยอยุธยาตอนปลายนี้ มวยไทยได้ชก
กันด้วยการคาดเชือกคือใช้เชือกเป็นผ้าพันมือ บางครั้งการชกก็อาจถึงตายเพราะเชือกที่
คาดมือนั้นบางครั้งก็ใช้น้ามันชุบเศษแก้วละเอียดชกถูกตรงไหนก็เป็นแผลตรงนั้น จะเห็น
ได้ว่ามวยไทยในสมัยนั้นมีอันตรายเป็นอันมาก
สนามมวย
 ที่เรียกกันว่าสนาม ครั้งก่อนๆนั้นเป็นสนามจริงๆ คือนายสนามเอาเชือกมากั้นพอเป็น
บริเวณเข้า แล้วมวยก็คาดเชือกชกกันบนพื้นดิน ใช้จอกหรือกะลาเจาะรูลอยน้าเป็น
มาตรากาหนดเวลา จมครั้งหนึ่งเรียกว่ายกหนึ่ง การต่อสู้ตามความรู้สึกในขณะนั้นเรียกว่า
ตื่นเต้น แต่ถ้าหากให้ชกกันเดี๋ยวนี้ก็คงจะถูกผู้ดูให้ลงกรรมการไล่ลงหรือออกจากเวทีแน่
เพราะกว่าจะชกกันแต่ละครั้งนั้นนานจนเมื่อยตา แต่ก็น่าเห็นใจเนื่องจากหมัดที่ใช้ชกคาด
ด้วยเชือกแทนสวมนวม อย่างไรก็ดีกีฬามวยเริ่มเข้าสู่ระเบียบอย่างจริงจังก็เมื่สร้างเวทีขึ้น
กลางสนามฟุตบอลสวนกุหลาบ พื้นใช้ไม้กระดาน เสื่อเป็นแบบเสื่อกระจูดทับข้างบน มี
การนับโดยจับเวลาเป็นนาที มีกรรมการขึ้นคอยห้าม ครั้งแรกเคยใช้กรรมการสองคน คน
หนึ่งคอยกันจับฝ่ายแดงอีกคนหนึ่งคอยกันจับฝ่ายน้าเงิน ในสมัยก่อนมีกรรมการ ๒ คน
คนหนึ่งคือพระยานนท์เสน อีกคนหนึ่งคือพระยานเรนทร์ราชา ที่เป็นกรรมการตัดสินที่
นิยมยกย่องแพร่หลายในระหว่างนักมวยและคณะหัวหน้านักมวยทั่วไป
 สาหรับการชกนั้นชกกันสลับคู่ อาทิคู่ ๑ ชกครบ ๑ ยก แล้วก็ลงจากเวทีแล้ว
ให้คุ่ที่ ๒ ขึ้นไปชกกันเพื่อมิให้คนดูเสียเวลา ถ้ายังไม่แพ้ชนะกันก็สลับไปถึงคู่ ๓
- ๔ - ๕ จนกว่าจะสิ้นแสงตะวัน หลักเกณฑ์และกติกาเบื้องต้นอนุญาตให้ซ้ากัน
ได้ในเวลาล้ม นักมวยตอนนั้นจึงต้องเรียนรู้วิธีต่อสู้รอบตัวทีเดียวเพราะฟาวล์ไม่
มี แม้กระทั่งกัดใบหูก็เคยปรากฏ อีกอย่างหนึ่ง สมัยนั้นนักเรียนพลศึกษามีมาก
อยากจะขึ้นชกเป็นการแสดงฝีมือและสอบไล่มวยไทยไปในตัวเสร็จ แต่กลัวพวก
นักมวยต่างจังหวัด จึงตกลงวางหลักกติกาให้กรรมการใช้ยูยิตสูช่วยด้วย จึงเป็น
ของธรรมดาที่เราจะเห็นนักมวยต่างจังหวัดซึ่งไม่รู้ว่ายูยิตสูคืออะไร ถูกทุ่มถูก
ล็อคจนออกปากส่งเสียงร้องเอ็ดตะโรยอมแพ้ให้ไป นอกจากบางรายที่ถูกเตะ
เสียจนตั้งตัวไม่ติดและแพ้ไปก่อน
 ประโยชน์ของมวยไทย
 ผู้ที่ฝึกวิชามวยพอใช้การได้แล้วย่อมทาให้เกิดประโยชน์แก่ตน ดังนี้ (คนละส่วนกับการฝึกชกมวยเพื่อ
เงิน)
 ๑. มีความมั่นใจในตนเอง
 ๒. ทาให้เกิดความกล้าหาญ
 ๓. มีอานาจบังคับจิตใจดีขึ้น
 ๔. มีความสุขุมเยือกเย็นไม่ดีใจเสียใจง่าย
 ๕. มีความพินิจพิเคราะห์รู้จักหาเหตุผล
 ๖. มีความมานะอดทนเพื่อสร้างสมรรถภาพ
 ๗. มีเชาว์ไวไหวพริบทันเหตุการณ์ปัจจุบันทันด่วน
 ๘. มีความเข้มแข็งอดทนไม่ท้อแท้และจานนต่อเหตุการณ์ง่าย ๆ
 ๙. มีความรักสุจริตยุติธรรมโดยประมวลจากหัวข้อข้างต้น
 เหล่านี้ย่อมเป็นที่สังเกตุว่าวิชามวยเป็นสิ่งที่สร้างสมรรถภาพให้ร่างกายและจิตใจโดยสมบูรณ์ ผู้มุ่ง
ศึกษาวิชามวยพึงพยายามจนบรรลุผลที่มุ่งหมาย
มวยไทย
มวยไทย
 ไหว้ครูรามวย เป็นการร่ายราในกีฬามวยไทยเพื่อแสดงถึงความกตัญญูรู้คุณและ
ความเคารพต่อครูมวย เป็นประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาช้านาน เช่นเดียวกับวิชาการ
หลายแขนงของไทย ที่มักทาการไหว้ครูก่อน[1] และให้มีการสวมมงคลขณะทาการร่าย
ราไหว้ครู เนื่องจากถือเป็นของศักดิ์สิทธิ์[2] ท่าที่นิยมทาการไหว้ครูมากที่สุดคือ พรหม
สี่หน้า[1], หงส์เหิร, ยูงฟ้อนหาง, สอดสร้อยมาลา, พระรามแผลงศร, พยัคฆ์ตามกวาง
, เสือลากหาง, สาวน้อยประแป้ง[2], ลับหอกโมกขศักดิ์ และกวางเหลียวหลัง ฯลฯ
 การราไหว้ครูเริ่มจากนั่ง กราบเบญจางคประดิษฐ์ คุกเข่าถวายบังคม ขึ้นพรหมนั่ง-
ยืน ท่ารามวย (อาจมีการเดินแปลง ย่างสามขุม การรูดเชือก การบริกรรมคาถา) เพื่อ
สารวจ ทักทายหรือข่มขวัญซึ่งแตกต่างกันไปตามแต่ละค่าย หรือสานัก โดยมีการ
บรรเลงดนตรีให้จังหวะในการต่อสู้ซึ่งใช้ "เพลงสะหระหม่าแขก" ใช้ในการไหว้ครู
"เพลงบุหลันชกมวย" และ "เพลงเชิด" ใช้ในการต่อสู้ ส่วนเครื่องดนตรีไทยที่ใช้
บรรเลงประกอบด้วย ปี่ชวา,กลองแขก และฉิ่ง
มวยไทย

More Related Content

มวยไทย

  • 2. มวยไทย มรดกไทย - มรดกโลก มวยไทยเป็นกีฬาเก่าแก่ของไทยเป็นที่นิยมของ ประชาชนทุกชั้นทุกสมัย ในชั้นต้นมวยไทยไม่ได้มีกติกา เป็นลายลักษณ์อักษร แต่นายสนามย่อมชี้แจงให้นักมวย คู่แข่งขันทราบถึงหลักเกณฑ์ในการแข่งขันนั้นๆ หลักเกณฑ์ต่างๆเหล่านี้เมื่อได้ใช้กันมากขึ้นก็กลายเป็น ประเพณี และใช้เป็นหลักเกณฑ์สาหรับการแข่งขันใน เวลาต่อมาฯ
  • 3.  ประวัติความเป็ นมาของมวยไทย  มวยไทยเริ่มขึ้นในสมัยไม่ปรากฏ และไม่มีหนังสือเล่มใดเขียนไว้ว่าจะเกิดขึ้นในสมัยใด แต่เท่าที่ ได้ปรากฏนั้นมวยไทยได้เกิดขึ้นมานานแล้วและอาจเกิดขึ้นมาพร้อมๆกับชาติไทย เพราะมวย ไทยนั้นเป็นศิลปประจาชาติไทยเราจริงๆยากที่ชาติอื่นจะลอกเลียนแบบได้  มวยไทยในสมัยก่อนเท่าที่ทราบจะมีการฝึกฝนอยู่ในบรรดาหมู่ทหาร เพราะในสมัยก่อนไทยเรา ได้มีการรบพุ่งและสู้รบกันกับประเทศเพื่อนบ้านบ่อยครั้ง การสู้รบในสมัยนั้นยังไม่มีปืนจะสู้กัน แต่ดาบสองมือและมือเดียว เมื่อเป็นเช่นนี้การรบพุ่งก็มีการรบประชิดตัว คนไทยเห็นว่าในสมัย นั้นการรบด้วยดาบเป็นการรบพุ่งที่ประชิดตัวมากเกินไปบางครั้งคู่ต่อสู้อาจเข้ามาฟันเราได้ง่าย คนไทยจึงได้ฝึกหัดการถีบและเตะคู่ต่อสู้เอาไว้เพื่อคู่ต่อสู้จะได้เสียหลักแล้วเราจะได้เลือกฟันง่าย ขึ้นทาให้คู่ต่อสู้แพ้ได้  ต่อมาเมื่อในหมู่ทหารได้มีการฝึกถีบเตะแล้วก็เกิดมีผู้คิดว่าทาอย่างไรจึงจะใช้การถีบเตะนั้นมา เป็นศิลปสาหรับการต่อสู้ด้วยมือได้ จึงต้องให้มีผู้ที่จะคิดจะฝึกหัดการต่อสู้ป้องกันตัวสาหรับการ ใช้แสดงเวลามีงานเทศกาลต่างๆไว้อวดชาวบ้านและเป็นของแปลกสาหรับชาวบ้าน เมื่อเป็น เช่นนี้นานเข้า ชาวบ้านหรือคนไทยได้เห็นการถีบเตะแพร่หลายและบ่อยครั้งเข้า จึงทาให้ชาวบ้าน มีการฝึกหัดมวยไทยกันมากจนถึงกับตั้งเป็นสานักฝึกกันมากมาย แต่สาหรับที่ฝึกมวยไทยนั้นก็ ต้องเป็นสานักดาบที่มีชื่อดีมาก่อนและมีอาจารย์ดีไว้ฝึกสอน
  • 4. ดังนั้นมวยไทยในสมัยนั้นจึงฝึกเพื่อความหมาย ๒ อย่างคือ  ๑. เพื่อไว้สาหรับสู้รบกับข้าศึก  ๒. เพื่อไว้ต่อสู้ป้ องกันตัว
  • 5.  ในสมัยนั้นใครมีเพลงดาบดีและเก่งกาจทางรบพุ่งนั้นจะต้องเก่งทางมวย ไทยด้วย เพราะเวลารบพุ่งนั้นต้องอาศัยมวยไทยเข้าช่วย ดังนั้นวิชามวย ไทยในสมัยนั้นจึงมุ่งหมายที่จะฝึกฝนเพลงดาบและวิชามวยไทยไป พร้อมๆกันเพื่อที่จะรับใช้ประเทศชาติด้วยการเป็ นทหารได้เป็ นอย่างดี  แต่เมื่อพ้นจากหน้าสงครามก็จะมีการชกมวยกันเพื่อความสนุกสนาน และ มีการพนันขันต่อกันระหว่างนักมวยที่เก่งจากหมู่บ้านหนึ่งกับนักมวยที่เก่ง จากอีกหมู่บ้านหนึ่งมาชกกันในหน้าที่มีงานเทศกาล หรือเกิดมีการท้าทาย กันขึ้นและมีการพนันขันต่อ มวยในสมัยนั้นชกกันด้วยหมัดเปล่าๆยังไม่มี การคาดเชือก เช่น สมัยอยุธยาตอนต้น ในสมัยนั้นคนไทยที่ทาชื่อเสียง ให้กับประเทศในวิชามวยไทยมากที่สุดคือนายขนมต้ม ซึ่งได้ใช้วิชามวย ไทยต่อสู้พม่าถึง ๑๐ คนและพม่าก็ได้แพ้นายขนมต้มหมดทุกคน จนถึง กับกษัตริย์พม่าพูดว่า  "คนไทยถึงแม้ว่าจะไม่มีดาบ แม้แต่มือเปล่าก็ยังมีพิษสงรอบตัว"
  • 6.  นายขนมต้มจึงเปรียบเสมือนผู้เป็นบิดาของวิชามวยไทยเพราะทาให้คนไทยมีชื่อเสียง เกี่ยวกับวิชามวยไทยเป็นอันมากในสมัยนั้น และชื่อเสียงก็ได้เลื่องลือมาจนถึงกับปัจจุบัน นี้  ในสมัยต่อมามวยไทยก็ยังฝึกฝนคู่กับการฝึกเพลงดาบอยู่และยังฝึกและใช้เพื่อการทา สงครามและฝึกฝนเพื่อการต่อสู้ป้องกันตัว บางทีก็ฝึกเพื่อชกในงานเทศกาลต่างๆ ใน สมัยอยุธยาตอนปลายพระมหากษัตริย์ของไทยบางพระองค์มีฝีมือในทางมวยไทยอยู่มาก เช่น พระเจ้าเสือหรือขุนหลวงสรศักดิ์ ซึ่งได้หนีออกจากพระราชวังไปชกมวยกับชาวบ้าน และชกชนะด้วย ต่อมาประชาชนทราบและเห็นว่าพระองค์ก็เป็นผู้มีฝีมือในวิชามวยไทย อยู่ในขั้นดีเยี่ยม ในสมัยต่อมา ผู้ที่มีฝีมือในทางมวยไทยก็มีมาก เช่น พระเจ้าตากสิน  วิชามวยไทยได้ยั่งยืนมาจนถึงสมัยปัจจุบัน และในสมัยอยุธยาตอนปลายนี้ มวยไทยได้ชก กันด้วยการคาดเชือกคือใช้เชือกเป็นผ้าพันมือ บางครั้งการชกก็อาจถึงตายเพราะเชือกที่ คาดมือนั้นบางครั้งก็ใช้น้ามันชุบเศษแก้วละเอียดชกถูกตรงไหนก็เป็นแผลตรงนั้น จะเห็น ได้ว่ามวยไทยในสมัยนั้นมีอันตรายเป็นอันมาก
  • 7. สนามมวย  ที่เรียกกันว่าสนาม ครั้งก่อนๆนั้นเป็นสนามจริงๆ คือนายสนามเอาเชือกมากั้นพอเป็น บริเวณเข้า แล้วมวยก็คาดเชือกชกกันบนพื้นดิน ใช้จอกหรือกะลาเจาะรูลอยน้าเป็น มาตรากาหนดเวลา จมครั้งหนึ่งเรียกว่ายกหนึ่ง การต่อสู้ตามความรู้สึกในขณะนั้นเรียกว่า ตื่นเต้น แต่ถ้าหากให้ชกกันเดี๋ยวนี้ก็คงจะถูกผู้ดูให้ลงกรรมการไล่ลงหรือออกจากเวทีแน่ เพราะกว่าจะชกกันแต่ละครั้งนั้นนานจนเมื่อยตา แต่ก็น่าเห็นใจเนื่องจากหมัดที่ใช้ชกคาด ด้วยเชือกแทนสวมนวม อย่างไรก็ดีกีฬามวยเริ่มเข้าสู่ระเบียบอย่างจริงจังก็เมื่สร้างเวทีขึ้น กลางสนามฟุตบอลสวนกุหลาบ พื้นใช้ไม้กระดาน เสื่อเป็นแบบเสื่อกระจูดทับข้างบน มี การนับโดยจับเวลาเป็นนาที มีกรรมการขึ้นคอยห้าม ครั้งแรกเคยใช้กรรมการสองคน คน หนึ่งคอยกันจับฝ่ายแดงอีกคนหนึ่งคอยกันจับฝ่ายน้าเงิน ในสมัยก่อนมีกรรมการ ๒ คน คนหนึ่งคือพระยานนท์เสน อีกคนหนึ่งคือพระยานเรนทร์ราชา ที่เป็นกรรมการตัดสินที่ นิยมยกย่องแพร่หลายในระหว่างนักมวยและคณะหัวหน้านักมวยทั่วไป
  • 8.  สาหรับการชกนั้นชกกันสลับคู่ อาทิคู่ ๑ ชกครบ ๑ ยก แล้วก็ลงจากเวทีแล้ว ให้คุ่ที่ ๒ ขึ้นไปชกกันเพื่อมิให้คนดูเสียเวลา ถ้ายังไม่แพ้ชนะกันก็สลับไปถึงคู่ ๓ - ๔ - ๕ จนกว่าจะสิ้นแสงตะวัน หลักเกณฑ์และกติกาเบื้องต้นอนุญาตให้ซ้ากัน ได้ในเวลาล้ม นักมวยตอนนั้นจึงต้องเรียนรู้วิธีต่อสู้รอบตัวทีเดียวเพราะฟาวล์ไม่ มี แม้กระทั่งกัดใบหูก็เคยปรากฏ อีกอย่างหนึ่ง สมัยนั้นนักเรียนพลศึกษามีมาก อยากจะขึ้นชกเป็นการแสดงฝีมือและสอบไล่มวยไทยไปในตัวเสร็จ แต่กลัวพวก นักมวยต่างจังหวัด จึงตกลงวางหลักกติกาให้กรรมการใช้ยูยิตสูช่วยด้วย จึงเป็น ของธรรมดาที่เราจะเห็นนักมวยต่างจังหวัดซึ่งไม่รู้ว่ายูยิตสูคืออะไร ถูกทุ่มถูก ล็อคจนออกปากส่งเสียงร้องเอ็ดตะโรยอมแพ้ให้ไป นอกจากบางรายที่ถูกเตะ เสียจนตั้งตัวไม่ติดและแพ้ไปก่อน
  • 9.  ประโยชน์ของมวยไทย  ผู้ที่ฝึกวิชามวยพอใช้การได้แล้วย่อมทาให้เกิดประโยชน์แก่ตน ดังนี้ (คนละส่วนกับการฝึกชกมวยเพื่อ เงิน)  ๑. มีความมั่นใจในตนเอง  ๒. ทาให้เกิดความกล้าหาญ  ๓. มีอานาจบังคับจิตใจดีขึ้น  ๔. มีความสุขุมเยือกเย็นไม่ดีใจเสียใจง่าย  ๕. มีความพินิจพิเคราะห์รู้จักหาเหตุผล  ๖. มีความมานะอดทนเพื่อสร้างสมรรถภาพ  ๗. มีเชาว์ไวไหวพริบทันเหตุการณ์ปัจจุบันทันด่วน  ๘. มีความเข้มแข็งอดทนไม่ท้อแท้และจานนต่อเหตุการณ์ง่าย ๆ  ๙. มีความรักสุจริตยุติธรรมโดยประมวลจากหัวข้อข้างต้น  เหล่านี้ย่อมเป็นที่สังเกตุว่าวิชามวยเป็นสิ่งที่สร้างสมรรถภาพให้ร่างกายและจิตใจโดยสมบูรณ์ ผู้มุ่ง ศึกษาวิชามวยพึงพยายามจนบรรลุผลที่มุ่งหมาย
  • 12.  ไหว้ครูรามวย เป็นการร่ายราในกีฬามวยไทยเพื่อแสดงถึงความกตัญญูรู้คุณและ ความเคารพต่อครูมวย เป็นประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาช้านาน เช่นเดียวกับวิชาการ หลายแขนงของไทย ที่มักทาการไหว้ครูก่อน[1] และให้มีการสวมมงคลขณะทาการร่าย ราไหว้ครู เนื่องจากถือเป็นของศักดิ์สิทธิ์[2] ท่าที่นิยมทาการไหว้ครูมากที่สุดคือ พรหม สี่หน้า[1], หงส์เหิร, ยูงฟ้อนหาง, สอดสร้อยมาลา, พระรามแผลงศร, พยัคฆ์ตามกวาง , เสือลากหาง, สาวน้อยประแป้ง[2], ลับหอกโมกขศักดิ์ และกวางเหลียวหลัง ฯลฯ  การราไหว้ครูเริ่มจากนั่ง กราบเบญจางคประดิษฐ์ คุกเข่าถวายบังคม ขึ้นพรหมนั่ง- ยืน ท่ารามวย (อาจมีการเดินแปลง ย่างสามขุม การรูดเชือก การบริกรรมคาถา) เพื่อ สารวจ ทักทายหรือข่มขวัญซึ่งแตกต่างกันไปตามแต่ละค่าย หรือสานัก โดยมีการ บรรเลงดนตรีให้จังหวะในการต่อสู้ซึ่งใช้ "เพลงสะหระหม่าแขก" ใช้ในการไหว้ครู "เพลงบุหลันชกมวย" และ "เพลงเชิด" ใช้ในการต่อสู้ ส่วนเครื่องดนตรีไทยที่ใช้ บรรเลงประกอบด้วย ปี่ชวา,กลองแขก และฉิ่ง