โครงงาȨปิึϹลกปิโตรเลียม
- 6. • ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปิึϹลกปิโตรเลียม
• ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
• ชื่อผู้จ้ดทาโครงงาน
นางสาวกานต์รวี ชวลิต ชั้น ม.6/3 เลขที่ 3
นายธนภูมิ กันทะวงศ์ ชั้น ม.6/3 เลขที่ 40
ชื่อครูที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินการ ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557
- 7. • ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
• ทรัพยากรพลังงานเป็นทรัพยากรที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจและในการ
พัฒนาประเทศของไทย นอกจากนั้นปิโตรเลียมยงเป็นทรัพยากรธรรมชาติซึ่ง
ก่อให้เกิดรายได้ส่งออกรายไดแก้ รัฐบาลการจ้างงาน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ประเทศไทยไดให้สัมปทานปิโตรเลียมคร้ังแรกในปีพ.ศ. 2505 แก่บริษัท
ต่างชาติต่อมาการสารวจ และผลิตเริ่มดาเนินการอย่างจริงจังมากยิ่งขิ้้นนับตั้งแต่มี
การออกพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 และ ได้มีการให้สัมปทาน
สารวจและผลิตปิโตรเลียมตั้งแต่ปีพ.ศ. 2514 เรื่อยมาจวบจนปัจจุบัน โดยให้
สัมปทาน ทั้งแหล่งบนบกอ่าวไทยและทะเลอันดามัน และได้มีการผลิตทั้งน้ามันดิบ
และก๊าซธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง อยางไรก็ตามเป็นที่คาดการณ์ว่าปริมาณการผลิตจะ
ไม่เพิ่มอีกมากนักและมีแนวโน้มที่่จะลดลงในระยะเวลา อีกประมาณ 20 ปี
กลับ
- 8. • วัตถุประสงค์
• 1. ศึกษาที่มาของการกาเนิดปิโตรเลียม
• 2. ศึกษากระบวนการซึ่งผลที่ได้จากปิโตรเลียม
• 3. ศึกษาประโชชน์และการนาไปใช้ของปิโตรเลียม
• 4. ศึกษาผลกระทบจากการใช้ปิโตรเลียม
กลับ
- 10. • หลักการและทฤษฎี
จุดเริ่มต้นของปิโตรเลียมอยู่ที่ชั้นหินที่มีปริมาณสารอินทรีย์สูงที่เรียกว่า “หิน
ต้นกาเนิด” เป็นหินที่เกิดจากการทับถมกันของเศษตะกอนปนซากพืชซากสัตว์ใน
อดีตเมื่อหลายล้านปีก่อน ความรู้นี้ยังไม่เปลี่ยน และยังคงเป็นพื้นฐานของการสารวจ
ปิโตรเลียมทั่วโลกในทุกวันนี้
ปิโตรเลียมที่พบในหินต้นกาเนิดและหินกักเก็บมีหลักฐานทางชีววิทยา (biomarker)
ว่ามาจากสิ่งมีชีวิต หลักฐานเหล่านี้สอดคล้องกับวิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิตบนโลกและบ่งบอกว่า
ปิโตรเลียมที่พบในหินไม่ได้มาจากแหล่งเดียว (เหมือนที่บอกว่ามาจากชั้นแมนเทิล) เช่น มาจากพืช
บกในยุคดีโวเนียน มาจากแพลงก์ตอนในมหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิกหรือมาจากแบคทีเรียในหิน
ทรายอายุกว่าสามพันล้านปี (Dutkiewicz et al., 1998) นอกจากนี้หลักฐานทาง
ชีววิทยายังสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในอดีตขณะที่เกิดหินต้นกาเนิดด้วยเช่น ตัวชี้วัดของพืชบก
พบในหินที่เกิดบนบก
กลับ
- 12. • ผลคาดว่าจะได้รับ
• 1. ทาให้รู้ถึงที่มาของการกาเนิดและการได้มาของปิโตรเลียม
• 2. รู้คุณค่าและการรู้จักใช้อย่างประหยัดในทางอ้อม เช่น เปิด
ไฟเท่าที่จาเป็น ขับรถประหยัดน้ามัน
• 3. เห็นผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แล้วปรับวิถีชีวิตหันมาใช้
พลังงานทดแทน
กลับ
- 19. น้ำมันดิบ และแก๊สธรรมชำติ มีควำมเบำ จะ
เคลื่อนย้ำย ไปกักเก็บอยู่ในชั้นหินเนื้อพรุน
เฉพำะบริเวณที่สูงของโครงสร้ำงแต่ละแห่ง
และจะถูกกักไว้ด้วยชั้นหินเนื้อแน่น ที่ปิดทับ
อยู่
- 31. น้ำมันดิบ
น้ำมันดิบ (crude oil) เกิดจากการทับถมของสารอินทรีย์ในระดับใต้
ผิวโลก และเกิดการแปรสภาพซึมผ่านช่องว่างระหว่างชั้นหินขึ้นสู่ผิวโลก
จนถึงชั้นหินเนื้อแน่นที่ไม่
สามารถซึมผ่านขึ้นมาได้
จะถูกกักเก็บไว้ในชั้นหิน
แข็งจะพบในชั้นของหิน
ดินดำน ซึ่งจัดเป็นหิน
ตะกอนประเภทหนึ่ง
- 43. สำรที่ได้จำกกำรกลั่น จำนวน C จุดเดือด °C กำรนำไปใช้ประโยชน์
แก๊สปิโตรเลียม 1 to 4 < 40 • ทำเชื้อเพลิง สำรเคมี
แนฟทำเบำ-หนัก 5 to 10 25 – 175 • น้ำมันเบนซิน
• สำรเคมี
น้ำมันก๊ำด 10 to 16 150 – 260 • เชื้อเพลิงเครื่องบินไอพ่น
น้ำมันดีเซล 14 to 50 235 – 360 • เชื้อเพลิงใช้กับเครื่องยนต์ดีเซล
น้ำมันหล่อลื่น 20 to 70 330 – 380 •น้ำมันหล่อลื่น
ไข 19-35 340- 500 • ทำเทียนไข
ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์จำกกำรกลั่นน้ำมันดิบ