ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ลั๊ล....ลา หาดใหญ่
จังหวัดสงขลา
ประวัติ
• อำเภอหำดใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสงขลำ เป็นที่ตั้งของนคร
หำดใหญ่ เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของภำคใต้ตอนล่ำง หำดใหญ่เป็นเมืองที่
มีชื่อเสียงในหลำยด้ำน เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงโดยเฉพำะแถบ
ประเทศมำเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย หำดใหญ่เป็นเมืองที่มี
เศรษฐกิจใหญ่และเงินสำรองของประเทศเป็ นอันดับ2รองจำก
กรุงเทพมหำนคร เท่ำนั้น
วิวัոาการอา๶ภอหาึϹหญ่
วิวัոาการอา๶ภอหาึϹหญ่
• เดิมเป็นเพียงหมู่บ้ำนเล็ก ๆ ที่มีชื่อว่ำ โคกเสม็ดชุน
• ในปี พ.ศ. 2428 ในพื้นที่ป่ำรกร้ำง มีทั้งหนอง คลอง บึง ประชำชนตั้ง
บ้ำนเรือนอยู่ห่ำง ๆ กัน บนที่ดอน หรือ โคก ในภำษำถิ่นใต้ และ
ประชำชนส่วนใหญ่ประกอบอำชีพทำงเก็บหำของป่ำและเกษตรกรรม
• ต่อมำในรัชสมัยของพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว (รัชกำล
ที่ 5) พระองค์ได้โปรด ฯ ให้กระทรวงคมนำคมประกำศเวนคืนที่ดินใน
บริเวณหมู่บ้ำนนี้ส่วนหนึ่งเพื่อก่อสร้ำงทำงรถไฟผ่ำนไปยังบ้ำนปำดังเบ
ซำร์ แหลมมำลำยู
วิวัոาการอา๶ภอหาึϹหญ่(ต่อ)
• ซึ่งต่อมำผู้รับเหมำก่อสร้ำงทำงรถไฟรำยหนึ่งเห็นควำมสำคัญของพื้นที่ที่
ก่อสร้ำงเป็นชุมทำงรถไฟ จึงได้ชักชวนชำวบ้ำนให้ร่วมกันหักร้ำงถำงพงเพื่อ
สร้ำงเป็นชุมชนเมืองขึ้นมำ และทำงรำชกำรก็ได้เข้ำไปจัดให้มีบริกำรและ
อำนวยควำมสะดวกในสิ่งที่เป็นควำมจำเป็นพื้นฐำนของชุมชน
• ต่อมำทำงรำชกำรได้ประกำศจัดตั้งขึ้นเป็นสุขำภิบำลหำดใหญ่ ตำม
ประกำศใช้พระรำชบัญญัติสุขำภิบำล เมื่อวันที่ 25 กรกฎำคม 2471
• ปัจจุบัน....ได้ยกฐำนะเทศบำลเมืองหำดใหญ่ ขึ้นเป็นเทศบำลนครหำดใหญ่
ตำมพระรำชกฤษฎีกำ เล่ม 112 ตอนที่ 40ก. ลงวันที่ 24 กันยำยน 2538 และ
มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 25 กันยำยน 2538
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
1.การท่องเที่ยวสร้างอาชีพ และการจ้างงานแก่ชุมชนในท้องถิ่น เพราะธุรกิจการ
ท่องเที่ยวเป็นธุรกิจที่ต้องใช้แรงงานมาก จึงเปิดโอกาสให้เกิดการจ้างงาน
ภายในชุมชนทั้งทางตรงและทางอ้อม
2. การเปิดชายแดนครั้งใหญ่เพื่อต้อนรับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เชื่อมต่อกับมาเลเซีย สิงคโปร์ทาให้เศรษฐกิจหาดใหญ่มีความคึกคักเพราะ
นักท่องเที่ยวยังมีเข้ามาต่อเนื่องทาให้มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่องไม่หยุดยั้ง
3. เมื่อสถานที่ท่องเที่ยวเริ่มพัฒนา ทาให้นักท่องเที่ยวเริ่มเข้ามาเที่ยวที่หาดใหญ่
มากขึ้น ทาให้เศรษฐกิจด้านการเงินพุ่งตัวสูงขั้นจากระดับก่อนๆ
4. เมื่อเมืองหาดใหญ่เริ่มมีการปรับปรุงพัฒนาจากจุดซบเซาให้ดีขึ้นทาให้
นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น ทาให้ผู้ที่ประกอบกิจการการค้าให้แก่นักท่องเที่ยว เช่น
ด้านอาหาร ด้านที่พัก การขนส่ง ฯลฯ มีรายได้เพิ่มสูงขึ้น ทาให้กิจการกลับมา
คงตัว และพัฒนาต่อไปได้
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ (ต่อ)
5. เกิดการกระจายรายได้สู่ชุมชนท้องถิ่นและส่วนภูมิภาคกล่าวคือ เมื่อชุมชนมีรายได้จากการ
ท่องเที่ยว ย่อมให้เกิดรายได้สู่ชุมชนท้องถิ่นและส่วนภูมิภาค เนื่องจากนักท่องเที่ยวได้นพ
เงินไปใช้จ่ายซื้อสินค้าและบริการท่องเที่ยวจากแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆ อันจะก่อให้เกิดการ
พัฒนาสร้างความเจริญแก่ชุมชนท้องถิ่นในภูมิภาค
6. การท่องเที่ยวเพิ่มรายได้ต่อหัวของชุมชนท้องถิ่นอันเป็นเครื่องชี้สถานะเศรษฐกิจของ
ประชาชนในชุมชนท้องถิ่นว่ามีความกินดีอยู่ดีขึ้น
7. การท่องเที่ยวก่อให้เกิดประโยชน์ในการกระตุ้นการผลิตด้านอื่นๆของชุมชนท้องถิ่น คือ
เมื่อชุมชนท้องถิ่นมีรายได้ต่อหัวของประชากรสูงขึ้นทาให้ประชาชนในชุมชนท้องถิ่น
สามารถนารายได้ไปใช้จ่ายมากขึ้น ก่อให้เกิดการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจของชุมชน
ท้องถิ่น กระตุ้นให้เกิดการผลิตด้านอื่นๆและนาทรัพยากรของชุมชนท้องถิ่นมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์มากขึ้น
8. ช่วยให้เกิดรายรับเงินตราต่างประเทศ (Foreign Exchange Earning)
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมอ.หาดใหญ่
(เขาคอหงส์)
ประวัติเขาคอหงส์
• เขาคอหงส์ เป็นผืนป่าผืนสุดท้ายของเมืองหาดใหญ่ สูง 371 เมตรเหนือ
น้าทะเล และมีพื้นที่ 2,600 ไร่ ครอบคลุมตาบลคอหงส์และตาบลทุ่ง
ใหญ่ ของอาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา นอกจากจะเป็นพื้นที่สีเขียว
ของเมืองหาดใหญ่แล้ว ยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากอีก
แห่งหนึ่ง
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมของ เขาคอหงส์
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม(ทางบวก)
• การท่องเที่ยวช่วยเสริมสร้างจิตสานึกด้านสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาการท่องเที่ยวทาให้คนในชุมชนเกิดความสานึกในการ
อนุรักษ์สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ รวมไปถึงการผลักดันให้เกิดมาร
ตราการในการรักษาสิ่งแวดล้อมและสัตว์ป่า
• การปรับภูมิทัศน์และพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวก
การท่องเที่ยวช่วยกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวก
ต่างๆ ไว้สาหรับให้บริการนักท่องเที่ยว รวมไปถึงการปรับภูมิทัศน์ใน
ชนบทหรือพื้นที่ในเมืองให้น่าสนและไม่เบื่อ
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมของ เขาคอหงส์(ต่อ)
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม(ทางลบ)
มลภาวะทางดิน
• เนื่องจากการบุกรุกพื้นที่ป่ าบริเวณรอบเขาคอหงส์เพื่อทาเป็นสวน
ยางพารา สวนผลไม้ และที่อยู่อาศัยยังมีอยู่อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการใช้
พื้นที่อย่างไม่เหมาะสม เพราะจะมีผลต่อระบบนิเวศน์และชุมชนเมือง
หาดใหญ่ จึงเป็นสาเหตุให้เกิดการชะล้างหน้าดิน จากการศึกษาพบว่าเขา
คอหงส์มีอัตราการชะล้างพังทลายของดินมากกว่า20 ตันต่อไร่ต่อปี จัด
อยู่ในชั้นความรุนแรงระดับรุนแรงมาก
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมของ เขาคอหงส์ (ต่อ)
• ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม(ทางลบ)
มลภาวะทางน้า
• สืบเนื่องจากปัญหาการชะล้างพังทลายของดินที่เกิดขึ้นบนเขาคอหงส์
หากปล่อยให้เกิดขึ้นต่อไปเรื่อยๆ อาจจะทาให้เกิดปัญหามลพิษในดิน
และน้า กล่าวคือทาให้ตะกอนดินไหลลงสู่แหล่งน้าบริเวณใกล้เคียง เช่น
อ่างเก็บน้ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และอ่างเก็บน้าค่ายเสนาณรงค์
ซึ่งจะก่อให้เกิดการสะสมของตะกอนดินและทรายเป็นจานวนมาก ทา
ให้แหล่งน้าเหล่านี้เกิดการตื้นเขินจนไม่สามารถรับน้าได้
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมของ เขาคอหงส์ (ต่อ)
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม(ทางลบ)
มลภาวะทางน้า
• ทาให้เกิดการสะสมของอินทรียวัตถุในแหล่งน้าเป็นจานวนมาก ซึ่ง
สามารถทาให้เกิดการสะสมของธาตุอาหารสาหรับพืชที่อยู่ในรูปของสา
รอนินทรีย์ของแหล่งน้า ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศของแหล่งน้า
เป็นอย่างมาก เพราะอาจส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในแหล่งน้าและทาให้
สภาพแวดล้อมอื่นๆ ของแหล่งน้าเปลี่ยนแปลงไป เช่น ทาให้น้าขุ่น น้ามี
สีและกลืนผิดไปจากปรกติ เป็นต้น
สิ่งที่ได้จากการท่องเที่ยวคุ้มหรือไม่กับสิ่งแวดล้อมที่เสียไป
การท่องเที่ยวในท้องถิ่นนั้น นามาซึ่งทั้งผลดีและผลเสียคู่กัน ส่วนใหญ่
จะเป็นผลเสียมากกว่า เพราะมีการเดินทางท่องเที่ยวตลอดเวลาของนักท่อง
เที่ยวที่เดินทางเข้ามา แต่ถ้าหากคนในชุมชนและนักท่องเที่ยวพึ่งตระหนักดัง
คาที่ว่า “เที่ยวอย่างรู้ค่า รักษาเอกลักษณ์ชุมชน” เพราะทุกชุมชนท่องเที่ยวต้อง
รู้เท่าทัน ผสานผลประโยชน์จาการท่องเที่ยวพร้อมกับการรักษาอัตลักษณ์
ชุมชนได้อย่างสมดุล โดยองค์กร บุคคลในชุมชนทั้งในเมืองและชนบทแห่ง
ซึ่งสถานที่ท่องเที่ยว ด้วยวิธีรับรู้ เข้าใจ และร่วมกันแสดงออกถึงพลังอัน
ยิ่งใหญ่ของชุมชนต่อการบริหารจัดการดูแลทรัพยากรท่องเที่ยว โดยใช้วิธีที่
สอดคล้องกับวิถีชีวิตจริง เพราะการบริหารจัดการการท่องเที่ยวในทิศทางที่
ยั่งยืน พร้อมมีการดาเนินงานที่เน้นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การดารงไว้ซึ่งวัฒนธรรมและวิถีชีวิตอันเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน
จบการนาเสนอ
จัดทาโดย
• นางสาว พลับพลึง คนสนิท 55011010321 เอก TM
• นางสาว สุชาดา กล้าหาญ 55011010554 เอก TM
• นางสาว สุนิสา บัวบาเพ็ญ 55011010569 เอก TM
• นางสาว อมรวรรณ มูลชมพู 55011010622 เอก TM
• นางสาว อัจฉราพร สุระพา 55011010635 เอก TM

More Related Content

อำเภอหาดใหญ่ จ.สงขลา