อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
- 6. น้าอัดลม ขนมเด็ก ไม่ใช่เรื่องเล็กอีกต่อไป
รร. จัดผลไม้ให้เด็กใน 1 สัปดาห์
รร. ที่ไม่ได้จัดผลไม้ให้เด็กใน 1 สัปดาห์
เด็กอ้วนน้อยกว่า 30%
รร. ที่มีการขายน้าอัดลม/ น้าหวาน
รร. ที่ไม่มีการขายน้าอัดลม/ น้าหวาน
เด็กอ้วนมากกว่า 2 เท่า
- 7. อาหารว่าง
อาหารว่างและขนมเด็ก ไม่ควรกินเกินวันละ 2 มื้อ
ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย และ สถาบันโภชนาการ
แต่ละมื้อให้พลังงานไม่เกินร้อยละ 10 ของพลังงานที่ต้องการในแต่ละวัน
เด็กเล็ก 2-5 ปี มื้อละไม่เกิน 100-130 กิโลแคลอรี
เด็กวัยเรียน 6-12 ปี มื้อละไม่เกิน 150 กิโลแคลอรี
เด็กวัยรุ่น 13-15 ปี มื้อละไม่เกิน 200 กิโลแคลอรี
- 8. อาหารว่างที่ดี
ควบคุมปริมาณน้ามัน น้าตาล เกลือ ไม่ให้สูงเกินไป
มีสารอาหารที่จาเป็นต่อร่างกาย เช่น โปรตีน เหล็ก แคลเซียม วิตามิน ใยอาหาร
อาหารว่างที่ดีที่สุด คือ ผลไม้ และ นมสดรสจืด
นมปรุงแต่งอื่นๆมีน้าตาลสูง ไม่แนะนาดื่ม
อาหารว่างที่มีคุณค่า ประกอบด้วยกลุ่มอาหารตามธงโภชนาการ 2-3 กลุ่มขึ้นไป
อาหารว่างทางเลือก ได้แก่ อาหารว่างแบบไทย เช่น ขนมถั่วแปป ข้าวต้มมัด
- 9. ขนมที่ควรหลีกเลี่ยง
• ให้พลังงาน รับประทานมากไป ทาให้อ้วนและฟันผุ
แป้ ง น้าตาล ไขมัน
• ไตทางานหนัก
• เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง
เกลือ
• ความดันโลหิตสูง
• ผลข้างเคียงของผงชูรส เช่น ชาที่ปาก ลิ้น ร้อนวูบวาบ ผื่นแดง
แน่นหน้าอก หายใจไม่ออก
ผงชูรส
ขนมกรุบกรอบ / บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป
- 12. ขนมที่ควรหลีกเลี่ยง
น้าอัดลม • กัดกร่อนกระดูกและฟัน : ฟันผุ กระดูกพรุน
• กรดกัดกระเพาะ : ท้องอืด ปวดท้อง
กรดคาร์บอนิก
• โรคอ้วน ฟันผุ
น้าตาล
• กระตุ้นประสาท : ตื่นตัว นอนไม่หลับ
คาเฟอีน
• สารก่อมะเร็ง
แต่งสี กลิ่น รส
• เป็นกรด ระคายเคืองทางเดินอาหาร
วัตถุกันเสีย
- 28. สีเหลืองบนฟันทั้ง 4 ซี่ คืออะไร ?
ขนมกรุบกรอบจาพวกมันฝรั่งทอด ทาให้ฟันผุได้ แม้ไม่มีน้าตาล
การบ้วนปากหลังการกินขนมไม่เพียงพอ แนะนาแปรงฟันหลังกินขนม
- 31. ดูแลฟันเด็กๆหลังทานขนม
กลุ่มที่ทานได้แบบมีเงื่อนไข
2
ได้แก่ ชอคโกแลต เวเฟอร์ คุ้กกี้ขนมปัง ซีเรียล เป็นต้น
ขนมกลุ่มที่มักติดอยู่ที่ด้านบดเคี้ยวของฟัน มองเห็นได้ไม่ยาก
เงื่อนไขการทาน : ไม่ทานนานเกินไป ไม่ทานบ่อย
ทานร่วมกับอาหารมื้อหลัก หลังทานให้ดื่มน้าตามแล้วตรวจดูในปาก
หากขนมไม่หลุด ใช้แปรงสีฟันจุ่มน้าปัดออกให้หมด
หมายเหตุ : เด็กเล็กๆที่ยังไม่ยอมให้แปรงฟันดีๆ ขนมกลุ่มนี้ก็ยังไม่ควรทาน
- 33. ดูแลฟันเด็กๆหลังทานขนม
ได้แก่ ไอศกรีม เยลลี่นิ่มๆ ทองหยิบ ทองหยอด
หลังทานบ้วนน้าแรงๆ ขนมมักหลุดออกจากฟันหมด
ได้แก่ สาหร่าย ถั่ว(ที่ไม่ได้เคลือบด้วยแป้ ง) ปลาเส้น ชีส
แม้ขนมกลุ่มนี้จะไม่ก่อฟันผุ แต่ควรระวังเรื่องโซเดียมในขนม
กลุ่มที่หวานแต่ไม่ติดฟัน
3.1
กลุ่มที่ไม่หวาน ไม่ใช่แป้ งและน้าตาล
3.2
Editor's Notes
- #3: กิȨาหารได้ครั้งละไม่มาก
- #4: ถึงมีประโยช แต่ไม่สมดุล
- #14: อาหารบางชนิดไม่มีข้อมูลโภชนาการบอกเป็นค่า % เช่น น้ำผลไม้หรือเครื่องดื่มอื่นๆ ถ้าระบุว่ามีน้ำตาล 10% หมายความว่า 100 มิลลิลิตร มีน้ำตาล 10 กรัม เมื่อดื่มเครื่องดื่ม 1 แก้ว (200 มล.) จะมีน้ำตาล 20 กรัม หรือเท่ากับ 5 ช้อนชา แค่นี้ก็สามารถคำนวณน้ำตาลในแต่ละวันที่เราจะรับประทานได้แล้ว
การบริโภคน้ำตาลมากที่ซ่อนอยู่ในเครื่องดื่ม ขนมหวาน หรือจากน้ำตาลโดยตรง เป็นต้นเหตุของฟันผุ เนื่องจากน้ำตาลถูกเปลี่ยนเป็นกรด โดยแบคทีเรียในปาก ทำให้เกิดการกัดกร่อนของเคลือบฟัน
และที่สำคัญ การบริโภคน้ำตาลปริมาณสูงเป็นประจำ นำไปสู่การเพิ่มของน้ำหนักตัวและอ้วนในที่สุด เนื่องจากเป็นพลังงานส่วนเกินที่เก็บสะสมไว้ได้ในร่างกายในรูปของไขมัน ภาวะอ้วนเป็นการเริ่มต้น ของปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ตามมา ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น
- #21: และอาจส่งผลให้คอเลสเตอรอลสูง เป็นตัวการพาโรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคร้ายต่าง ๆ มาให้เราด้วย
- #22: อาจเป็นสาเหตุของโรคอ้วน เบาหวาน
- #23: เพื่อเลี่ยงโรคไต และโรคความดันโลหิตสูง