ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
โดย
นาย ฮามิด แอบดัลลา อะราบี
นูมัม อัล อามิน อารี
International Journal of English Linguistics; Vol. 5, No.1; 2015
ISSN 1923-869X E-ISSP 1923-8703
Published by Canadian Center of Science and Education
การเชื่อมโยงเป็นองค์ประกอบโดยธรรมชาติของ
การเขียนสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้น การศึกษาครั้งนี้กล่าว
อ้างในการตรวจสอบแต่ละประเภทในการเชื่อมโยงคากับใจความ
หลักในแบบทดสอบทั้ง 50 ชุดโดยนักศึกษาชาวซูดานที่
มหาวิทยาลัยของรัฐ
เป็นประเด็นที่โต้เถียงกันอยู่ว่า การเขียนที่จะประสบความสาเร็จ
นั้น มีทั้งความท้าทายและทักษะด้านภาษาโดยเฉพาะนักเรียนที่เรียน
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ(EFL)
ในความเป็นจริงนั้น การเชื่อมโยงคาเข้ารวมกันนั้นจะเห็นได้ชัดเจน
ในรูปของข้อความ ซึ่งนักศึกษาจะเน้นเกี่ยวกับข้อความที่จะเขียนแบบ
ตรรกะที่สอดคล้องกับความคิดในการเขียนความหมายและคาสั่ง
1. Information Structure (IS) โครงสร้างข้อมูล
2. Thematic Structure (TS) โครงสร้างใจความหลัก
Information Structure (IS) โครงสร้างข้อมูล
 a dog is New information (ข้อมูลใหม่) การใช้ a เพราะ pronoun เป็นข้อมูลใหม่ที่ยังไม่ได้กล่าวถึง
 the dog is Given information. (ข้อมูลเก่า) การใช้ the เพราะ pronoun เป็นข้อมูลที่ได้กล่าวถึงแล้วซึ่ง
เรียกว่าข้อมูลเก่าที่เจาะจง
 the jewels = they คือ Given information เป็น pronoun ที่ถูกอ้างถึงมาก่อนหรือข้อมูลเก่า
[A] 1. Yesterday, I saw a little girl get bitten by a dog.
2. I tried to catch the dog, but it ran away.
[B] 1. What happen to the jewels?
2. They were stolen by a customer
Thematic Structure (TS) โครงสร้างใจความหลัก เป็นรูปแบบของ clauses
Theme = given = สิ่งที่ผู้ฟังรู้อยู่ก่อน ใจความหลัก
Rheme = new = สิ่งที่เป็นข้อมูลใหม่ ใจความรอง
 ทำหน้ำที่เป็นประธำนของประโยค Tom และ The students of engineering
 ส่วนของใจควำมหลักนั้น จะพบในตำแหน่งของประโยคแต่ไม่ใช่ประธำนของประโยค
A. Tom sent the letter.
B. The students of engineering are busy with new technologies.
Table 1.The distribution of syntactic and textual errors in the corpus
1. Information Structure
1. ข้อผิดพลาดในการใช้ Article (a an the)
 จำกตำรำงมีข้อผิดพลำดถึง 5.2
 ผลที่ได้แสดงถึง ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรเชื่อมโยงกับกลุ่มข้อควำมในระดับประโยคย่อยหรือประโยคใหญ่นั้นคือ ขัดกันอย่ำงมำ
 สำเหตุดังกล่ำว เนื่องมำจำกข้อเท็จจริงที่ว่ำควำมชัดเจนและไม่ชัดเจนของบทควำมนั้นคือควำมรู้ด้ำนภำษำสตร์ของบทควำมที่แน่นอนและไม่
แน่นอนเป็นเครื่องหมำยของภำษำศำสตร์ของโครงสร้ำง Given-New information
ตัวอย่ำง เช่น
 คาว่า dog ในประโยคที่สอง คือ Given – information.
 ส่วน New-information คือกล่ำวถึงครั้งแรกแล้ว คือข้อมูลใหม่ เช่นในกรณีดังกล่ำว “dog” เป็นคำนำม ซึ่งจะต้องมีกำรปรับเปลี่ยน
จำก “a huge dog” เป็น “the huge dog”
When we entered we faced by the huge dog.
Table 1.The distribution of syntactic and textual errors in the corpus
2. โครงสร้างใจความหลัก Thematic Structure
1. ข้อผิดพลาดของ Active (ประธานเป็นผู้กระทากริยาโดยตรง) / Passive (ประธานเป็นผู้กระทากริยานั้น
โดยผู้อื่น )
- ในความผิดพลาดของประเภทนี้มี 2.2%
- เป็นการเขียนที่ผิดรูปหรือทาให้เข้าใจผิดในโครงสร้างของใจความสาคัญ ส่งผลให้เกิดการผิดพลาดในการเชื่อมโยงคาของประโยค
ตัวอย่าง เช่น
 ผู้ที่เขียนประโยคนี้ไม่ได้ระบุอย่างชัดเจนว่าเป็น he หรือ she แต่มีจุดประสงค์ที่จะพูดเกี่ยวกับเพื่อน
 ซึ่งผลสรุปนี้ประกอบด้วยสองส่วนเป็นการวางรูปประโยค passive ที่ผิด
 ประการแรก คือ he หรือ she ไม่จาเป็นต้องมีการใช้รูปแบบ passive หรือถูกกระทา ต้องเน้นที่ My friends
 ประการที่สอง he หรือ she ความผิดพลาดการเลือกใช้คาศัพท์ที่เหมาะสมที่จะสื่อความหมายตามที่ตั้งใจไว้
 - ดังนั้นควรใช้ are advanced ไม่ใช่ went before
My friends are advanced (went before) and I promise to meet them. [16/N]
การศึกษาครั้งนี้ได้ยึดแบบทดสอบ 50 ข้อนี้มันสามารถพิสูจน์ให้เห็นว่า
นักเรียนมีข้อผิดพลาดที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น การสร้างประโยค คาศัพท์
และ ใจความสาคัญ และที่สาคัญกว่านั้น บางส่วนของข้อผิดพลาดดังกล่าว
ส่งผลโดยตรงกับการเชื่อมโยงคาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับของประโยค

More Related Content

งานวิจัย Patters of Textual Coherence in Student"Written Discourse: A Study of Sudanese English Majors.

  • 1. โดย นาย ฮามิด แอบดัลลา อะราบี นูมัม อัล อามิน อารี International Journal of English Linguistics; Vol. 5, No.1; 2015 ISSN 1923-869X E-ISSP 1923-8703 Published by Canadian Center of Science and Education
  • 3. เป็นประเด็นที่โต้เถียงกันอยู่ว่า การเขียนที่จะประสบความสาเร็จ นั้น มีทั้งความท้าทายและทักษะด้านภาษาโดยเฉพาะนักเรียนที่เรียน ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ(EFL) ในความเป็นจริงนั้น การเชื่อมโยงคาเข้ารวมกันนั้นจะเห็นได้ชัดเจน ในรูปของข้อความ ซึ่งนักศึกษาจะเน้นเกี่ยวกับข้อความที่จะเขียนแบบ ตรรกะที่สอดคล้องกับความคิดในการเขียนความหมายและคาสั่ง
  • 4. 1. Information Structure (IS) โครงสร้างข้อมูล 2. Thematic Structure (TS) โครงสร้างใจความหลัก
  • 5. Information Structure (IS) โครงสร้างข้อมูล  a dog is New information (ข้อมูลใหม่) การใช้ a เพราะ pronoun เป็นข้อมูลใหม่ที่ยังไม่ได้กล่าวถึง  the dog is Given information. (ข้อมูลเก่า) การใช้ the เพราะ pronoun เป็นข้อมูลที่ได้กล่าวถึงแล้วซึ่ง เรียกว่าข้อมูลเก่าที่เจาะจง  the jewels = they คือ Given information เป็น pronoun ที่ถูกอ้างถึงมาก่อนหรือข้อมูลเก่า [A] 1. Yesterday, I saw a little girl get bitten by a dog. 2. I tried to catch the dog, but it ran away. [B] 1. What happen to the jewels? 2. They were stolen by a customer
  • 6. Thematic Structure (TS) โครงสร้างใจความหลัก เป็นรูปแบบของ clauses Theme = given = สิ่งที่ผู้ฟังรู้อยู่ก่อน ใจความหลัก Rheme = new = สิ่งที่เป็นข้อมูลใหม่ ใจความรอง  ทำหน้ำที่เป็นประธำนของประโยค Tom และ The students of engineering  ส่วนของใจควำมหลักนั้น จะพบในตำแหน่งของประโยคแต่ไม่ใช่ประธำนของประโยค A. Tom sent the letter. B. The students of engineering are busy with new technologies.
  • 7. Table 1.The distribution of syntactic and textual errors in the corpus
  • 8. 1. Information Structure 1. ข้อผิดพลาดในการใช้ Article (a an the)  จำกตำรำงมีข้อผิดพลำดถึง 5.2  ผลที่ได้แสดงถึง ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรเชื่อมโยงกับกลุ่มข้อควำมในระดับประโยคย่อยหรือประโยคใหญ่นั้นคือ ขัดกันอย่ำงมำ  สำเหตุดังกล่ำว เนื่องมำจำกข้อเท็จจริงที่ว่ำควำมชัดเจนและไม่ชัดเจนของบทควำมนั้นคือควำมรู้ด้ำนภำษำสตร์ของบทควำมที่แน่นอนและไม่ แน่นอนเป็นเครื่องหมำยของภำษำศำสตร์ของโครงสร้ำง Given-New information ตัวอย่ำง เช่น  คาว่า dog ในประโยคที่สอง คือ Given – information.  ส่วน New-information คือกล่ำวถึงครั้งแรกแล้ว คือข้อมูลใหม่ เช่นในกรณีดังกล่ำว “dog” เป็นคำนำม ซึ่งจะต้องมีกำรปรับเปลี่ยน จำก “a huge dog” เป็น “the huge dog” When we entered we faced by the huge dog.
  • 9. Table 1.The distribution of syntactic and textual errors in the corpus
  • 10. 2. โครงสร้างใจความหลัก Thematic Structure 1. ข้อผิดพลาดของ Active (ประธานเป็นผู้กระทากริยาโดยตรง) / Passive (ประธานเป็นผู้กระทากริยานั้น โดยผู้อื่น ) - ในความผิดพลาดของประเภทนี้มี 2.2% - เป็นการเขียนที่ผิดรูปหรือทาให้เข้าใจผิดในโครงสร้างของใจความสาคัญ ส่งผลให้เกิดการผิดพลาดในการเชื่อมโยงคาของประโยค ตัวอย่าง เช่น  ผู้ที่เขียนประโยคนี้ไม่ได้ระบุอย่างชัดเจนว่าเป็น he หรือ she แต่มีจุดประสงค์ที่จะพูดเกี่ยวกับเพื่อน  ซึ่งผลสรุปนี้ประกอบด้วยสองส่วนเป็นการวางรูปประโยค passive ที่ผิด  ประการแรก คือ he หรือ she ไม่จาเป็นต้องมีการใช้รูปแบบ passive หรือถูกกระทา ต้องเน้นที่ My friends  ประการที่สอง he หรือ she ความผิดพลาดการเลือกใช้คาศัพท์ที่เหมาะสมที่จะสื่อความหมายตามที่ตั้งใจไว้  - ดังนั้นควรใช้ are advanced ไม่ใช่ went before My friends are advanced (went before) and I promise to meet them. [16/N]
  • 11. การศึกษาครั้งนี้ได้ยึดแบบทดสอบ 50 ข้อนี้มันสามารถพิสูจน์ให้เห็นว่า นักเรียนมีข้อผิดพลาดที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น การสร้างประโยค คาศัพท์ และ ใจความสาคัญ และที่สาคัญกว่านั้น บางส่วนของข้อผิดพลาดดังกล่าว ส่งผลโดยตรงกับการเชื่อมโยงคาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับของประโยค