ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
Take – Home Exam

                วิชา เศรษฐกิจภาคประชาชน




             เสนอ รศ.ดร. ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ
             โดย นาย พลจิรันตน์ สิริพรพัฒนชัย
                     528 53204 29

  รายงาน ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา เศรษฐกิจภาคประชาชน




จงวิเคราะห์และตอบคำาถามต่อไปนี้
1. คำาว่า “มีอะไรใต้รอยเท้าช้าง” ในสารคดีนี้ สื่อความหมาย
     อะไร มีตัวอย่างอื่นในสังคมไทยอีกหรือไม่ที่สื่อความหมายนี้
  2. สารคดีนี้ ได้สื่อความหมายของการพัฒนาและการกระจาย
     รายได้อย่างไร
  3. สารคดีนี้บอกอะไรบ้างเกี่ยวกับการผลิตภาคประชาชน

“มีอะไรใต้รอยเท้าช้าง”
      “มีอะไรใต้รอยเท้าช้าง” ในสารคดีนี้ สื่อความหมายอย่าง
ชัดเจนเกี่ยวกับความสูญเสียวิถีชีวิตของชุมชน ฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ อันเนื่องมากจากอำานาจรัฐ
และอำานาจทุนทีมุ่งเน้นแต่ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดย
                   ่
มิได้คำานึงถึงสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตชาวบ้าน จากสารคดีดังกล่าว
สามารถบ่งชี้ถึงการเข้ามาทำาลายความเป็นชุมชนและความเป็นป่า
ของรัฐและทุนได้ จากกรณีศึกษา ทั้ง ٦ กรณี ดังนี้

١. กรณีศึกษา บ.หนองเต่า อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่
      ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่ามาบนผืนป่าแห่ง ปกากะญอ
ชาวไทยภูเขาได้ถูกอำานาจรัฐเข้ามายึดเอาทรัพยากรธรรมชาติ
โดยตราหน้าเจ้าของป่าว่าเป็นผูบุกรุกและทำาลายป่าจากการทำาไร่
                                ้
เลื่อนลอย ซึ่งในความจริงวิถีชีวิตที่ดำารงอยู่ของชาวปกากะญอมิ
ได้เป็นอย่างที่กล่าวหา หากแต่ความจริงคือชาวปกากะญอรักและ
หวงแหนป่ามาก มีการใช้ต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์เป็นหลักเขตแดนแบ่งว่า
ป่าไหนใช้ทำากิน ป่าไหนใช้อนุรักษ์และที่สำาคัญความไม่เข้าใจ
ของภาครัฐในเรื่องการทำาไร่เลื่อนลอย แท้จริงนั้นเป็นการทำาไร่
หมุนเวียนเพื่อให้ผืนดินได้พักฟื้น จากการทำากินเท่านัน
                                                    ้

٢. กรณีศึกษา ป่าดงใหญ่ จังหวัดอำานาจเจริญ
      ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่ามาบนผืนป่าดงใหญ่ ภายใต้
ความไม่เข้าใจและมุงเน้นที่จะดูดกลืนทรัพยาธรรมชาติมาใช้เพื่อ
                   ่
ให้เกิดผลประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจแต่เพียงด้านเดียว รัฐได้สร้าง
นโยบายเพื่อส่งเสริมการปลูกพืชเชิงเดี่ยว เช่น ปอ และ มัน กับ
ชาวบ้าน ส่งผลให้ป่าเสื่อมโทรม รวมทังเกษตรกรต้องจากที่ทำากิน
                                     ้
เข้ามาเป็นกรรมกรในเมือง เนื่องจากมิสามารถทำากินจากป่าที่
เสื่อมโทรมได้

٣.กรณีศึกษา ชุมชนเปร็ดในจังหวัดตราด
ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่ามาบนผืนป่าชายเลน สะท้อน
ความไม่เป็นธรรมในการใช้ฐานทรัพยากร นายทุนรุกพื้นที่ปาชาย    ่
เลน อันอุดมสมบูรณ์ของชาวบ้าน เช่น ในขณะที่ไม้โกงกางเป็นที่
ต้องการและมีราคาดี นายทุนผู้ซึ่งได้สิทธิ์สัมปทานอันชอบธรรม
จากรัฐได้ใช้สอยพื้นที่ปาโกงกางเกินจำานวนที่ขอไว้ นอกจากนี้
                          ่
เพื่อ ให้ได้พื้นที่มากขึ้นในการทำานากุ้งกุลาดำาก็ทำาให้ป่าโกงกางที่
สมบูรณ์เป็นเสื่อมโทรม เพื่อให้ง่ายต่อการแปลงพื้นที่ป่า มาเป็น
ที่ดินใช้ในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำา

٤.กรณีศึกษา กิ่งอำาเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท
       ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่ามาบนผืนป่า”ไอ้บ้า” ชาว
บ้านคนหนึ่งที่มีสำานึกหวนแหนในผืนป่า ออกต่อสู้ กับอำานาจรัฐที่
ข่มขู่จะแย่งเอาทรัพยากรของชุมชน ได้ชักชวนชาวชุนชนโดย
ลงมือทำาอย่างเช่น เมื่อไฟป่าไหม้มาก็ดับไฟ จนเติบโตเป็น”ไอ้
บ้า”กลุ่มใหญ่ในชุมชน

٥.กรณีศึกษา ทะเลสาบสงขลา
       ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่ามาบนผืนทะเลสาบสงขลา
ทั้งรัฐ ทุน และคนโลภ ได้พลิกเปลียนทะเลสาบสงขลาอย่างน่า
                                    ่
ใจหาย เช่น การสร้างเขื่อน ทำาให้ปิดกั้นนำ้าจืดและนำ้าเค็ม ส่งผล
ให้ปิดการเดินทางสัตว์นำ้าอพยพ ผลกระทบที่ตามมา คือจำานวน
สัตว์นำ้าได้ลดลงอย่างมากมาย มิเพียงเท่านั้น ยังมีการทำานากุ้งส่ง
ผลให้เกิดดินเลน และสารเคมีลงในทะเลสาบสงขลา อีกทั้งยังมี
การสร้างท่าเรือนำ้าลึกอันส่งผลต่อระบบนิเวศน์ของทะเลสาบอีก
ด้วย เท่านั้นไม่พอต่อการซำ้าเติบทะเลสาบ ทุนได้สร้างโรงงาน
อุตสาหกรรมและปล่อยนำ้าเสียลงสูแหล่งนำ้า ทำาให้ทะเลสาบ
                                  ่
สงขลาเสื่อมโทรม ไม่อาจเป็นแหล่งอาหารอันอุดมได้ดังเดิม

٦. กรณีศึกษา อ.บางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
      ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่ามาบนผืนป่าพรุ เจ้าของทุน
โรงถลุงเหล็ก ได้สร้างส่งผลกระทบต่อป่า นา นำ้า และ ทะเล อัน
เป็นฐานทรัพยากรของชาวบางสะพานที่ใช้ทำากินกันหลายชัวอายุ  ่
คน เมื่อทะเลอันเป็นแหล่งวางไข่ของปลา ถูกกั้นกระแสนำ้าโดย
การทำาท่าเรือนำ้าลึก ส่งผลกระทบต่อห่วงโช่อาหารซำ้าร้ายยังมีการ
ปล่อยของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมเข้าไป จนในที่สุดชาวบ้าน
ได้ร้องเรียนกับภาครัฐ แต่ภาครัฐโดยกรมประมงก็ไม่สามารถแก้
ปัญหาอันใดได้ ทำาได้แค่เพียงให้คำาแนะนำาชาวบ้านว่าควรเลิก
เลี้ยงปลา

     ยิ่งไปกว่านั้นการเข้ามาของโรงถลุงเหล็กยังไปสร้างความ
แตกแยกให้แก่ชุมชน โดยแบ่งเป็น ٢ ฝ่าย ฝ่ายแรกต่อต้านการ
เข้ามาสร้างโรงถลุงเหล็กเฟส ٢ ในขณะที่ชาวบ้านอีกฝ่ายหนึ่งซึง
                                                          ่
สูญเสียจิตวิญญาณของชาวชุมชนกลายเป็นแรงงานในโรงงาน




ตัวอย่างอื่นในสังคมไทยที่สื่อความหมาย “มีอะไรใต้รอยเท้า
ช้าง”

١.กรณี นิคมอุตสาหกรรมมาบตาบพุด จังหวัดระยอง
        ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่ามาบนมาบตาพุด นับเป็นกรณี
ที่ชัดเจนในการที่แสดงให้เห็นถึง ทุนและรัฐที่ไปสร้างผลกระทบ
ต่อชุมชน โดยปัญหานั้นเริมตั้งแต่การขยายพื้นที่สีมวง(พื้นที่ที่เป็น
                           ่                           ่
เขตอนุญาตให้ตั้งโรงงานอุตสาหกรรม) รุกคืบเข้าใกล้ในเขตบ้าน
พักอาศัยซึ่งเป็นเขตพื้นที่สีเขียว(พื้นที่สำาหรับอยู่อาศัย) จนใน
ที่สุด อำานาจรัฐและอำานาจทุนกลับสามารถแปรเปลี่ยนจากพื้นที่สี
เขียวของชาวบ้านเป็นพื้นที่สีม่วง ยิงไปกว่านั้นได้กล่าวร้ายชาว
                                     ่
บ้านว่าเป็นผูบุกรุกเข้าไปในเขตของอุตสาหกรรม นอกจากสิทธิใน
             ้
พื้นทีที่ชาวบ้านถูกละเมิดแล้ว ยังมีกรณีปัญหาสิ่งแวดล้อมและ
      ่
สุขภาพอีก เช่น การที่มีชาวบ้านได้รับผลกระทบ ในเรื่องเสียงของ
การเดินเครื่องของโรงงานอุตสาหกรรม ปัญหากลุมควันจาก   ่
โรงงานปิโตรเคมีขนาดใหญ่ ตัวเลขโอกาสเสี่ยงในการเป็นมะเร็ง
เพิ่มมากขึ้น อีกทั้งชาวบ้านยังเสี่ยงกับปัญหาสารเคมีรั่วไหล ดัง
เช่น สารฟอกขาวรั่วออกจากตู้คอนเทนเนอร์ ในท่าเรือแหลมฉบัง
ทำาให้ชาวบ้านมีอาการเวียน ศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน เกิดผดผื่นคัน
เดือดร้อน ٢٤٦ ครัวเรือน หรือ ١٨٨٧ คน เมื่อวันที่ ٢٥ พฤศจิกายน
٢٥٥٢1

٢.กรณี โรงไฟฟ้าถ่านหินแม่เมาะ จังหวดลำาปาง

1
    เนชันสุดสัปดาห์ ฉบับ ٩١٥ : รายงานพิเศษ มาบตาพุด
        ่
ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่า ณ ตำาบลแม่เมาะ จากความ
ต้องของการพัฒนาอุตสาหกรรมส่งผลให้เกิดความต้องการไฟฟ้า
ในการหล่อเลี้ยงภาคอุตสาหกรรม การผลิตกระแสไฟที่แม่เมาะ
เป็นการผลิตกระแสไฟฟ้าพลังงานถ่านหินลิกไนต์ โดยถ่านหินที่
ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตถ่านหินนั้น ก็มาจากการทำาเหมือง
ถ่านหิน ซึ่งผลกระทบที่ตามมาจากการทำาเหมืองถ่านหินก็คือ การ
ที่ บริเวณโดยรอบจะมีค่าของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์เกินกว่าค่า
มาตรฐานมาก (เกิดมลภาวะทางอากาศ) โดยก๊าซพิษดังกล่าว จะ
เข้าไปมีผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจของมนุษย์ นอกจากนี้
ยังมีกลิ่นเหม็นและแรงสั่นสะเทือน ซึ่งส่งผลกระทบต่อชาวบ้าน
แม่เมาะอย่างมาก

٣.กรณีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
       ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่า ณ บริเวณท่าอากาศยาน
สุวรรณภูมิ ชาวบ้านได้รับผลกระทบจากการเปิดใช้สนามบิน
สุวรรณภูมิ โดยทำาให้วถีชาวบ้านและชุมชนต้องเปลี่ยนไปจากการ
                       ิ
ได้รับผลกระทบทางเสียง มิเพียงเท่านั้นเรายังเห็นการใช้อำานาจ
รัฐในการแย่งชิงที่อยู่ของชาวบ้านทั้งๆที่ชาวบ้านนั้นได้อาศัยอยู่ใน
ทีแห่งนี้มานานนับสิบปี รัฐแก้ปัญหาโดยการย้ายโรงเรียน วัด และ
   ่
บ้านของชุมชนโดยให้เงินค่าชดเชยแก่ชาวบ้าน ทีร้องเรียนในเรื่อง
                                                 ่
มลภาวะทางเสียงอย่างไม่เป็นธรรม แต่ในที่สุดชาวบ้านก็จะ
ยอมรับค่าชดเชยเหล่านี้เนื่องจากไม่สามารถทนอยู่ในที่ตั้งของ
หมู่บ้านเดิมได้อีก

       กล่าวโดยสรุป การก้าวย่างเพื่อพัฒนาประเทศโดยคำานึงถึง
แต่ตัวเลขการเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงด้านเดียว โดยมิได้คำานึง
ถึง ผลกระทบอื่นๆอย่างรอบด้าน เช่น สิ่งแวดล้อม ฐานทรัพยากร
วิถีชุมชน สุขภาพของคนนั้น เป็นการก้าวย่างแห่งการพัฒนาที่ขาด
สำานึก และเป็นก้าวย่างที่เหยียบไปบนสิทธิ์ของคนเล็กคนน้อย ที่
เสียงไม่ดังเท่ารัฐและทุน หากเปรียบรัฐและทุนคือช้างการกระทำา
ที่ได้กระทำาไปในกรณีศึกษาทั้งหมด อาจเปรียบได้กับการก้าวเดิน
ของช้างโดยภายใต้รอยเท้าช้างก็คือ ความล่มสลายของฐาน
ทรัพยากร และวิถีทำากินชองชาวบ้าน.

สารคดีนี้ ได้สื่อความหมายของการพัฒนาและการกระจาย
รายได้อย่างไร
ภายใต้วาทกรรมการพัฒนาที่ประเทศไทยรับมาจากโลก
ตะวันตก ซึงรัฐบาลต่างชื่นชม และยกไว้เป็นตัวแบบด้านความ
                ่
เจริญตามรอยประเทศเหล่านั้น นับตั้งแต่ประเทศไทยได้เริ่มจัดทำา
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รัฐได้เลือกแนวทาง
พัฒนาประเทศที่มุ่งเน้นอุตสาหกรรมและการเจริญเติบโตของ
ตัวเลขทางเศรษฐกิจ ซึงผลของนโยบายข้างต้น ส่งผลให้รัฐให้
                          ่
ความสำาคัญและจัดสรรทรัพยากร เพื่อการสร้างโครงสร้างพื้นฐาน
ที่เอื้ออำานวยต่อภาคอุตสาหกรรม ซึงสิ่งเหล่านีถูกฟ้องด้วยภาพจา
                                      ่         ้
กรณีศึกษาทั้ง ٦ จากสารคดีชุดนี้ เกิดความไม่เท่าเทียมกันของ
การกระจายรายได้ระหว่างคนจนกับคนรวย ทีนับวันจะยิ่งเพิ่มความ
                                             ่
เหลื่อมลำ้ามากขึ้นทุกขณะ
        กลุ่มคนรวยซึ่งครอบครองอำานาจทุน และมีความสัมพันธ์อัน
แนบแน่นกับภาครัฐ ได้เข้ามากอบโกยดูดกลืนทรัพยากรของ
ชุมชน ในหลายๆกรณี เช่น กรณีที่ภาครัฐและทุนส่งเสริมเกษตรใน
ป่าดงใหญ่ ให้ปลูกพืชเชิงเดี่ยว เช่น ปอและมัน ในท้ายที่สุดความ
มั่งคั่งก็ถูกถ่ายถอนจากป่าไปสู่มือนายทุน เพราะที่สุดป่าก็ถูก
ทำาลายจากการปลูกพืชเชิงเดี่ยวแต่นายทุนทำาได้กำาไรจากการ
ค้าขายกับชาวบ้าน หรือ กรณีศึกษาที่ทะเลสาบสงขลา ในการ
พัฒนาเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รัฐได้
สร้างท่าเรือนำ้าลึกเพื่อสนับสนุนภาคอุตสาหกรรม ส่งผลให้รายได้
จากการทำาประมงพื้นบ้านของชาวบ้านลดลงอันเนื่องมาจากระบบ
นิเวศน์ทถูกทำาลาย ชาวบ้านไม่สามารถหากินเองจากฐาน
           ี่
ทรัพยากรได้ จำาต้องเข้ามาเป็นแรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม
ตัวอย่างเหล่านี้ชี้ให้เห็นว่า ยิงเราพัฒนามากขึ้นๆ เราจะเห็นว่ามี
                                ่
คนบางกลุมรวยขึ้น ขณะที่คนอีกกลุ่มจนลง จนลงเพราะไม่มีแหล่ง
              ่
ทำากิน นำ้า นา ป่า ไม้ ถูกทำาลาย

       กล่าวโดยสรุป สิ่งที่เราได้เห็นจากสารคดี ได้บอกเราชัดเจน
ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในประเทศไทยนั้นเป็นปัญหาในเชิงโครงสร้าง
เป็นการพัฒนาแบบไม่สมดุล ซึ่งภาครัฐเป็นผูกำาหนดนโยบายโดย
                                            ้
มุ่งเน้นแต่การพัฒนาทางภาคอุตสาหกรรมโดยวัดจากตัวเลขของ
การลงทุนในภาคอุตสาหกรรม โดยผลลัพธ์จาการพัฒนาดังกล่าว
ก่อให้เกิดการไม่เท่าเทียมกันในการจัดสรรทรัพยากรและการกระ
จายรายได้ ซึ่งโดยแท้จริงแล้วภาคชนบทของไทยยังอยู่ในภาค
เกษตร ทังที่หาพืชสัตว์ ตามป่า หรือที่ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ หากป่า
           ้
นา นำ้ายังสมบูรณ์ คนในชุมชนก็จะยังใช้ฐานทรัพยากรหล่อเลี้ยง
ชีวิตแม้ไม่รำ่ารวยแต่ก็พออยู่พอกินไม่อดตาย แต่ถ้าหากเรายัง
ปล่อยให้มีการพัฒนาแบบไม่สมดุลเช่นนี้เรื่อยไป เราจะได้เห็น
ช่องว่างของคนรวยและคนจนมากขึ้น ชาวบ้านมีทางเลือกแค่ ٢
ทาง ถ้าไม่อดตายจากการหดหายไปของทรัพยากร ก็ต้องผันตัว
มาเป็นกรรมกรในโรงงาน

สารคดีนี้บอกอะไรบ้างเกี่ยวกับการผลิตภาคประประชาชน

       หากภาคประชาชนสามารถดูแลและเข้าถึงฐานทรัพยากรได้
แล้วไซร้ จะอย่างไรชุมชนก็มีอยู่ มีกิน หล่อเลี้ยงชีวิตได้ รวมถึง
การผลิตภาคประชาชนนั้นเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างสมดุล มิได้
มุ่งเน้นในการตักตวงไปใช้แต่อย่างเดียว ดังจะเห็นได้จากกรณี
ศึกษา ทัง ٦ จากสารคดีชุดนี้
          ้

       การผลิตภาคประชาชนนั้นมิสามารถแยกขาดจากจิต
วิญญาณของชุมชนได้ ดังเช่น กรณีศึกษาที่ บ้านหนองเต่า อำาเภอ
แม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ ที่ผนำาชุมชน ได้ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้าน
                                ู้
มาบริหารจัดการชุมชนอย่าง สมดุล เช่น การกำาหนดเขตแนวป่าที่
ใช้ทำากินได้ กับพื้นที่ป่าศักดิ์สิทธิ์ห้ามเข้าไปทำากิน นี่แสดงให้เห็น
ความสามารถในการจัดการในระดับชุมชนหมู่บ้าน เพื่อให้เกิด
ความสมดุลในการใช้ทรัพยากร นอกจากนี้ในระดับครัวเรือน ชาว
ปกากะญอรู้จักการคัดเลือกพันธุ์เมล็ดพืชเพื่อให้เหมาะสมต่อการ
เติบโตในแต่ละช่วงเวลา ทำาให้มีอาหารกินทั้งปีอย่างหลากหลาย
หรือการปลูกพืชหมุนเวียน เพื่อเปิดโอกาสให้หน้าผืนดินได้พื้นตัว
นั้น หรือการปลูกข้าวของปกากะญอ โดย ต้นข้าวหลุมเดียวก็มีพืช
ผักหลายชนิด มีทงข้าว มีทั้งผัก มีทั้งฟัก นอกจากนี้เราจะเห็นการ
                    ั้
แบ่งงานกันทำาในครอบครัวตาม ความถนัดเช่น ผู้ชายออกไป
ทำาการไถ่หว่าน ในยามว่างก็ตระเตรียมเครื่องมีอการเกษตร ส่วนผู้
หญิงก็ ดูแลผู้คนในบ้าน ยามว่างก็คัดเลือกเมล็ดพันพืชเพื่อเตรียม
ใช้ปลูกในฤดูการถัดไป จากข้อเท็จจริงข้างต้นชี้ให้เห็นว่าวิถีการ
ผลิตของชาวปกากะญอได้มีใช้ทรัพยากรอย่างสมดุลและยังยืน          ่
อีกทั้งยังใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านที่สอดคล้องกับฐานทรัพยากรของ
ตน

     ในกรณีศึกษาที่ ป่าดงใหญ่ จังหวัดอำานาจเจริญ หลังจาก
ชาวบ้านได้รับบทเรียนจาการมุ่งเน้นตักตวงผลประโยชน์จากป่า
เพียงอย่างเดียว จนทำาให้ปาเสื่อมโทรม ชาวบ้านได้เรียนรูว่า การ
                           ่                             ้
ใช้ทรัพยากรอย่างเห็นแก่ตัวไม่สามารถทำาให้ชาวบ้านอยู่กินได้
อย่างยั่งยืน ชุมชนป่าดงใหญ่หันมาตระหนักถึงความสำาคัญของป่า
ชุมชนสามารถหาของกินจากป่าได้ ป่าเปรียบเสมือนแหล่งอาหาร
อันอุดมของชุมชนและเพื่อมิให้เกิดความผิดพลาดเหมือนครั้งอดีต
ชุมชนป่าดงใหญ่ได้ร่วมกันดูแลป่า ดังจะเห็นได้จากการ ที่ชุมชน
ช่วยกันจับนายทุนที่เข้ามาลักลอบตัดไม้ในพื้นที่ป่า กับทางเจ้า
หน้าที่ป่าไม่ จากข้อเท็จจริงข้างต้น อาจกล่าวได้ว่าการใช้
ทรัพยากรในการผลิตของชุมชนนั้นมิได้มุ่งหวังเพียงการตักตวงให้
มากที่สุดแต่อย่างเดียว แต่การผลิตของชุมชนมุ่งเน้นไปที่การดูแล
รักษาแหล่งทรัพยากรการผลิตเพื่อให้หากิน หาใช้ได้อย่างยังยืน ่
นอกจากนี้ยังมีกรณีศึกษาที่ชุมชนเปร็ดใน จังหวัด ตราดที่แสดง
ถึงการใช้ทรัพยากรอย่างถูกวิธี ยกตัวอย่าง เช่น ป้ายสโลแกน ”
หยุดจับร้อยคอยจับล้าน” แสดงให้เห็นถึงการรู้จักใช้ทรัพยากร
ของชุมชน ทังในการทำาปะมงพื้นบ้าน การทำาสวน การหาปูจากป่า
              ้
ชายเลน นอกจากนียังมีการตั้งกลุ่มสัจจะออมทรัพย์เพื่อเกื้อกูล
                    ้
กันเองภายในชุมชน โดยไม่ต้องพึ่งพิงแหล่งทุนจากภายนอก หรือ
อย่างในกรณีของ กิ่งอำาเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท ทีเริ่มจาก
                                                     ่
ชายที่ชาวบ้านเรียกว่า “ไอ้บ้า” ทีหวนแหนทรัพยากรป่าโดยเริ่ม
                                 ่
จากคนเพียงไม่กี่คนขยายใหญ่เป็นกลุ่มเครือข่ายรอบป่า นอกจาก
การรักษาป่าจะเป็นหน้าที่หลักของชายแล้ว ผู้หญิงในหมูบ้านที่ได้
                                                       ่
ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวในการดำาเนินชีวิต และได้จัดตั้ง
รวมตัวเป็นกลุ่มแม่บ้านทำาการผลิตหน่อไม้แปรรูปอันเป็นผลพวง
จากการรู้จักใช้ทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืน

     กล่าวโดยสรุปการผลิตภาคประชาชนนั้นอิงแอบจากฐาน
ทรัพยาการที่อยู่ในพื้นที่ และหากชุมชนเข้ามามีสวนร่มในการ
                                              ่
รักษา ดูแลและใช้ประโยชน์ร่วมกันจากฐานทรัพยากร ไม่วาจะเป็น
                                                      ่
ป่า หรือนำ้า ชุมชนสามารถทำาการผลิตได้โดยไม่ไปทำาลายฐาน
ทรัพยากร เพราะในแต่ละชุมชนก็มีวิถีชีวิตและภูมิปัญญาชาวบ้าน
ในการบริหารจัดการทรัพยากรของตนเองอย่างสมดุลและยั่งยืน

     สรุปในภาพรวมจากการดูสารคดีได้ ดังนี้ คือ รอยเท้าช้าง
เกิดจากการมุ่งเน้นพัฒนาภาคอุตสาหกรโดยมิได้คำานึงถึงสิ่ง
แวดล้อมและชุมชน ซึ่งถูกเหยีบยำ่าทำาลายจากรอยเท้าช้าง การมุ่ง
เน้นแต่การพัฒนาโดยวัดผลจากตัวเลขการเติบโตทางเศรฐกิจ ได้
ก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมในการกระจายรายได้โดย ตัวเงินที่ได้
จะกระจุกอยู่แต่เฉพาะกลุ่มทุนเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม ใน
ขณะที่คนเล็กคนน้อยได้รับผลกระทบทางลบต่อชุมชนและวิถีชีวิต
ซึ่งโดยแท้จริงแล้วการผลิตภาคประชาชนของชุมชนนั้นนอกจาก
จะไม่ทำาลายฐานทรัพยากรแล้ว ยังเกิดการจัดตั้งรวมตัวเพื่อรักษา
ฐานทรัพยากรอีกด้วย สุดท้ายนี้รัฐควรกำาหนดนโยบายการพัฒนา
ที่สมดุล เพื่อให้เกิดความเท่าเทียมกันในการกระจายรายได้และ
การเข้าถึงแหล่งทรัพยากรของชุมชน รัฐควรสร้างกลไกในการ
รองรับสิทธิชุมชน รัฐควรศึกษาผลกระทบทังด้านสิ่งแวดล้อมและ
                                          ้
สุขภาพของคนในชุมชนก่อนอนุมัติการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกร
รมโดยคึงนึงถึงเพียงแต่ตัวเลขจีดีพี ท้ายที่สุด เพื่อแก้ไขข้อผิด
พลาดในอดีตรัฐควรใช้นโยบายการคลังเพื่อให้เกิดความเป็นธรรม
ในการกระจายรายได้และความเป็นธรรมในสังคม

More Related Content

รายงาน อ ณรง ตัวเต็ม

  • 1. Take – Home Exam วิชา เศรษฐกิจภาคประชาชน เสนอ รศ.ดร. ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ โดย นาย พลจิรันตน์ สิริพรพัฒนชัย 528 53204 29 รายงาน ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา เศรษฐกิจภาคประชาชน จงวิเคราะห์และตอบคำาถามต่อไปนี้
  • 2. 1. คำาว่า “มีอะไรใต้รอยเท้าช้าง” ในสารคดีนี้ สื่อความหมาย อะไร มีตัวอย่างอื่นในสังคมไทยอีกหรือไม่ที่สื่อความหมายนี้ 2. สารคดีนี้ ได้สื่อความหมายของการพัฒนาและการกระจาย รายได้อย่างไร 3. สารคดีนี้บอกอะไรบ้างเกี่ยวกับการผลิตภาคประชาชน “มีอะไรใต้รอยเท้าช้าง” “มีอะไรใต้รอยเท้าช้าง” ในสารคดีนี้ สื่อความหมายอย่าง ชัดเจนเกี่ยวกับความสูญเสียวิถีชีวิตของชุมชน ฐาน ทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ อันเนื่องมากจากอำานาจรัฐ และอำานาจทุนทีมุ่งเน้นแต่ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดย ่ มิได้คำานึงถึงสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตชาวบ้าน จากสารคดีดังกล่าว สามารถบ่งชี้ถึงการเข้ามาทำาลายความเป็นชุมชนและความเป็นป่า ของรัฐและทุนได้ จากกรณีศึกษา ทั้ง ٦ กรณี ดังนี้ ١. กรณีศึกษา บ.หนองเต่า อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่ ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่ามาบนผืนป่าแห่ง ปกากะญอ ชาวไทยภูเขาได้ถูกอำานาจรัฐเข้ามายึดเอาทรัพยากรธรรมชาติ โดยตราหน้าเจ้าของป่าว่าเป็นผูบุกรุกและทำาลายป่าจากการทำาไร่ ้ เลื่อนลอย ซึ่งในความจริงวิถีชีวิตที่ดำารงอยู่ของชาวปกากะญอมิ ได้เป็นอย่างที่กล่าวหา หากแต่ความจริงคือชาวปกากะญอรักและ หวงแหนป่ามาก มีการใช้ต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์เป็นหลักเขตแดนแบ่งว่า ป่าไหนใช้ทำากิน ป่าไหนใช้อนุรักษ์และที่สำาคัญความไม่เข้าใจ ของภาครัฐในเรื่องการทำาไร่เลื่อนลอย แท้จริงนั้นเป็นการทำาไร่ หมุนเวียนเพื่อให้ผืนดินได้พักฟื้น จากการทำากินเท่านัน ้ ٢. กรณีศึกษา ป่าดงใหญ่ จังหวัดอำานาจเจริญ ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่ามาบนผืนป่าดงใหญ่ ภายใต้ ความไม่เข้าใจและมุงเน้นที่จะดูดกลืนทรัพยาธรรมชาติมาใช้เพื่อ ่ ให้เกิดผลประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจแต่เพียงด้านเดียว รัฐได้สร้าง นโยบายเพื่อส่งเสริมการปลูกพืชเชิงเดี่ยว เช่น ปอ และ มัน กับ ชาวบ้าน ส่งผลให้ป่าเสื่อมโทรม รวมทังเกษตรกรต้องจากที่ทำากิน ้ เข้ามาเป็นกรรมกรในเมือง เนื่องจากมิสามารถทำากินจากป่าที่ เสื่อมโทรมได้ ٣.กรณีศึกษา ชุมชนเปร็ดในจังหวัดตราด
  • 3. ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่ามาบนผืนป่าชายเลน สะท้อน ความไม่เป็นธรรมในการใช้ฐานทรัพยากร นายทุนรุกพื้นที่ปาชาย ่ เลน อันอุดมสมบูรณ์ของชาวบ้าน เช่น ในขณะที่ไม้โกงกางเป็นที่ ต้องการและมีราคาดี นายทุนผู้ซึ่งได้สิทธิ์สัมปทานอันชอบธรรม จากรัฐได้ใช้สอยพื้นที่ปาโกงกางเกินจำานวนที่ขอไว้ นอกจากนี้ ่ เพื่อ ให้ได้พื้นที่มากขึ้นในการทำานากุ้งกุลาดำาก็ทำาให้ป่าโกงกางที่ สมบูรณ์เป็นเสื่อมโทรม เพื่อให้ง่ายต่อการแปลงพื้นที่ป่า มาเป็น ที่ดินใช้ในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำา ٤.กรณีศึกษา กิ่งอำาเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่ามาบนผืนป่า”ไอ้บ้า” ชาว บ้านคนหนึ่งที่มีสำานึกหวนแหนในผืนป่า ออกต่อสู้ กับอำานาจรัฐที่ ข่มขู่จะแย่งเอาทรัพยากรของชุมชน ได้ชักชวนชาวชุนชนโดย ลงมือทำาอย่างเช่น เมื่อไฟป่าไหม้มาก็ดับไฟ จนเติบโตเป็น”ไอ้ บ้า”กลุ่มใหญ่ในชุมชน ٥.กรณีศึกษา ทะเลสาบสงขลา ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่ามาบนผืนทะเลสาบสงขลา ทั้งรัฐ ทุน และคนโลภ ได้พลิกเปลียนทะเลสาบสงขลาอย่างน่า ่ ใจหาย เช่น การสร้างเขื่อน ทำาให้ปิดกั้นนำ้าจืดและนำ้าเค็ม ส่งผล ให้ปิดการเดินทางสัตว์นำ้าอพยพ ผลกระทบที่ตามมา คือจำานวน สัตว์นำ้าได้ลดลงอย่างมากมาย มิเพียงเท่านั้น ยังมีการทำานากุ้งส่ง ผลให้เกิดดินเลน และสารเคมีลงในทะเลสาบสงขลา อีกทั้งยังมี การสร้างท่าเรือนำ้าลึกอันส่งผลต่อระบบนิเวศน์ของทะเลสาบอีก ด้วย เท่านั้นไม่พอต่อการซำ้าเติบทะเลสาบ ทุนได้สร้างโรงงาน อุตสาหกรรมและปล่อยนำ้าเสียลงสูแหล่งนำ้า ทำาให้ทะเลสาบ ่ สงขลาเสื่อมโทรม ไม่อาจเป็นแหล่งอาหารอันอุดมได้ดังเดิม ٦. กรณีศึกษา อ.บางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่ามาบนผืนป่าพรุ เจ้าของทุน โรงถลุงเหล็ก ได้สร้างส่งผลกระทบต่อป่า นา นำ้า และ ทะเล อัน เป็นฐานทรัพยากรของชาวบางสะพานที่ใช้ทำากินกันหลายชัวอายุ ่ คน เมื่อทะเลอันเป็นแหล่งวางไข่ของปลา ถูกกั้นกระแสนำ้าโดย การทำาท่าเรือนำ้าลึก ส่งผลกระทบต่อห่วงโช่อาหารซำ้าร้ายยังมีการ ปล่อยของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมเข้าไป จนในที่สุดชาวบ้าน ได้ร้องเรียนกับภาครัฐ แต่ภาครัฐโดยกรมประมงก็ไม่สามารถแก้
  • 4. ปัญหาอันใดได้ ทำาได้แค่เพียงให้คำาแนะนำาชาวบ้านว่าควรเลิก เลี้ยงปลา ยิ่งไปกว่านั้นการเข้ามาของโรงถลุงเหล็กยังไปสร้างความ แตกแยกให้แก่ชุมชน โดยแบ่งเป็น ٢ ฝ่าย ฝ่ายแรกต่อต้านการ เข้ามาสร้างโรงถลุงเหล็กเฟส ٢ ในขณะที่ชาวบ้านอีกฝ่ายหนึ่งซึง ่ สูญเสียจิตวิญญาณของชาวชุมชนกลายเป็นแรงงานในโรงงาน ตัวอย่างอื่นในสังคมไทยที่สื่อความหมาย “มีอะไรใต้รอยเท้า ช้าง” ١.กรณี นิคมอุตสาหกรรมมาบตาบพุด จังหวัดระยอง ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่ามาบนมาบตาพุด นับเป็นกรณี ที่ชัดเจนในการที่แสดงให้เห็นถึง ทุนและรัฐที่ไปสร้างผลกระทบ ต่อชุมชน โดยปัญหานั้นเริมตั้งแต่การขยายพื้นที่สีมวง(พื้นที่ที่เป็น ่ ่ เขตอนุญาตให้ตั้งโรงงานอุตสาหกรรม) รุกคืบเข้าใกล้ในเขตบ้าน พักอาศัยซึ่งเป็นเขตพื้นที่สีเขียว(พื้นที่สำาหรับอยู่อาศัย) จนใน ที่สุด อำานาจรัฐและอำานาจทุนกลับสามารถแปรเปลี่ยนจากพื้นที่สี เขียวของชาวบ้านเป็นพื้นที่สีม่วง ยิงไปกว่านั้นได้กล่าวร้ายชาว ่ บ้านว่าเป็นผูบุกรุกเข้าไปในเขตของอุตสาหกรรม นอกจากสิทธิใน ้ พื้นทีที่ชาวบ้านถูกละเมิดแล้ว ยังมีกรณีปัญหาสิ่งแวดล้อมและ ่ สุขภาพอีก เช่น การที่มีชาวบ้านได้รับผลกระทบ ในเรื่องเสียงของ การเดินเครื่องของโรงงานอุตสาหกรรม ปัญหากลุมควันจาก ่ โรงงานปิโตรเคมีขนาดใหญ่ ตัวเลขโอกาสเสี่ยงในการเป็นมะเร็ง เพิ่มมากขึ้น อีกทั้งชาวบ้านยังเสี่ยงกับปัญหาสารเคมีรั่วไหล ดัง เช่น สารฟอกขาวรั่วออกจากตู้คอนเทนเนอร์ ในท่าเรือแหลมฉบัง ทำาให้ชาวบ้านมีอาการเวียน ศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน เกิดผดผื่นคัน เดือดร้อน ٢٤٦ ครัวเรือน หรือ ١٨٨٧ คน เมื่อวันที่ ٢٥ พฤศจิกายน ٢٥٥٢1 ٢.กรณี โรงไฟฟ้าถ่านหินแม่เมาะ จังหวดลำาปาง 1 เนชันสุดสัปดาห์ ฉบับ ٩١٥ : รายงานพิเศษ มาบตาพุด ่
  • 5. ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่า ณ ตำาบลแม่เมาะ จากความ ต้องของการพัฒนาอุตสาหกรรมส่งผลให้เกิดความต้องการไฟฟ้า ในการหล่อเลี้ยงภาคอุตสาหกรรม การผลิตกระแสไฟที่แม่เมาะ เป็นการผลิตกระแสไฟฟ้าพลังงานถ่านหินลิกไนต์ โดยถ่านหินที่ ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตถ่านหินนั้น ก็มาจากการทำาเหมือง ถ่านหิน ซึ่งผลกระทบที่ตามมาจากการทำาเหมืองถ่านหินก็คือ การ ที่ บริเวณโดยรอบจะมีค่าของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์เกินกว่าค่า มาตรฐานมาก (เกิดมลภาวะทางอากาศ) โดยก๊าซพิษดังกล่าว จะ เข้าไปมีผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจของมนุษย์ นอกจากนี้ ยังมีกลิ่นเหม็นและแรงสั่นสะเทือน ซึ่งส่งผลกระทบต่อชาวบ้าน แม่เมาะอย่างมาก ٣.กรณีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ภายใต้รอยเท้าช้างที่เหยียบยำ่า ณ บริเวณท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ ชาวบ้านได้รับผลกระทบจากการเปิดใช้สนามบิน สุวรรณภูมิ โดยทำาให้วถีชาวบ้านและชุมชนต้องเปลี่ยนไปจากการ ิ ได้รับผลกระทบทางเสียง มิเพียงเท่านั้นเรายังเห็นการใช้อำานาจ รัฐในการแย่งชิงที่อยู่ของชาวบ้านทั้งๆที่ชาวบ้านนั้นได้อาศัยอยู่ใน ทีแห่งนี้มานานนับสิบปี รัฐแก้ปัญหาโดยการย้ายโรงเรียน วัด และ ่ บ้านของชุมชนโดยให้เงินค่าชดเชยแก่ชาวบ้าน ทีร้องเรียนในเรื่อง ่ มลภาวะทางเสียงอย่างไม่เป็นธรรม แต่ในที่สุดชาวบ้านก็จะ ยอมรับค่าชดเชยเหล่านี้เนื่องจากไม่สามารถทนอยู่ในที่ตั้งของ หมู่บ้านเดิมได้อีก กล่าวโดยสรุป การก้าวย่างเพื่อพัฒนาประเทศโดยคำานึงถึง แต่ตัวเลขการเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงด้านเดียว โดยมิได้คำานึง ถึง ผลกระทบอื่นๆอย่างรอบด้าน เช่น สิ่งแวดล้อม ฐานทรัพยากร วิถีชุมชน สุขภาพของคนนั้น เป็นการก้าวย่างแห่งการพัฒนาที่ขาด สำานึก และเป็นก้าวย่างที่เหยียบไปบนสิทธิ์ของคนเล็กคนน้อย ที่ เสียงไม่ดังเท่ารัฐและทุน หากเปรียบรัฐและทุนคือช้างการกระทำา ที่ได้กระทำาไปในกรณีศึกษาทั้งหมด อาจเปรียบได้กับการก้าวเดิน ของช้างโดยภายใต้รอยเท้าช้างก็คือ ความล่มสลายของฐาน ทรัพยากร และวิถีทำากินชองชาวบ้าน. สารคดีนี้ ได้สื่อความหมายของการพัฒนาและการกระจาย รายได้อย่างไร
  • 6. ภายใต้วาทกรรมการพัฒนาที่ประเทศไทยรับมาจากโลก ตะวันตก ซึงรัฐบาลต่างชื่นชม และยกไว้เป็นตัวแบบด้านความ ่ เจริญตามรอยประเทศเหล่านั้น นับตั้งแต่ประเทศไทยได้เริ่มจัดทำา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รัฐได้เลือกแนวทาง พัฒนาประเทศที่มุ่งเน้นอุตสาหกรรมและการเจริญเติบโตของ ตัวเลขทางเศรษฐกิจ ซึงผลของนโยบายข้างต้น ส่งผลให้รัฐให้ ่ ความสำาคัญและจัดสรรทรัพยากร เพื่อการสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ที่เอื้ออำานวยต่อภาคอุตสาหกรรม ซึงสิ่งเหล่านีถูกฟ้องด้วยภาพจา ่ ้ กรณีศึกษาทั้ง ٦ จากสารคดีชุดนี้ เกิดความไม่เท่าเทียมกันของ การกระจายรายได้ระหว่างคนจนกับคนรวย ทีนับวันจะยิ่งเพิ่มความ ่ เหลื่อมลำ้ามากขึ้นทุกขณะ กลุ่มคนรวยซึ่งครอบครองอำานาจทุน และมีความสัมพันธ์อัน แนบแน่นกับภาครัฐ ได้เข้ามากอบโกยดูดกลืนทรัพยากรของ ชุมชน ในหลายๆกรณี เช่น กรณีที่ภาครัฐและทุนส่งเสริมเกษตรใน ป่าดงใหญ่ ให้ปลูกพืชเชิงเดี่ยว เช่น ปอและมัน ในท้ายที่สุดความ มั่งคั่งก็ถูกถ่ายถอนจากป่าไปสู่มือนายทุน เพราะที่สุดป่าก็ถูก ทำาลายจากการปลูกพืชเชิงเดี่ยวแต่นายทุนทำาได้กำาไรจากการ ค้าขายกับชาวบ้าน หรือ กรณีศึกษาที่ทะเลสาบสงขลา ในการ พัฒนาเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รัฐได้ สร้างท่าเรือนำ้าลึกเพื่อสนับสนุนภาคอุตสาหกรรม ส่งผลให้รายได้ จากการทำาประมงพื้นบ้านของชาวบ้านลดลงอันเนื่องมาจากระบบ นิเวศน์ทถูกทำาลาย ชาวบ้านไม่สามารถหากินเองจากฐาน ี่ ทรัพยากรได้ จำาต้องเข้ามาเป็นแรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม ตัวอย่างเหล่านี้ชี้ให้เห็นว่า ยิงเราพัฒนามากขึ้นๆ เราจะเห็นว่ามี ่ คนบางกลุมรวยขึ้น ขณะที่คนอีกกลุ่มจนลง จนลงเพราะไม่มีแหล่ง ่ ทำากิน นำ้า นา ป่า ไม้ ถูกทำาลาย กล่าวโดยสรุป สิ่งที่เราได้เห็นจากสารคดี ได้บอกเราชัดเจน ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในประเทศไทยนั้นเป็นปัญหาในเชิงโครงสร้าง เป็นการพัฒนาแบบไม่สมดุล ซึ่งภาครัฐเป็นผูกำาหนดนโยบายโดย ้ มุ่งเน้นแต่การพัฒนาทางภาคอุตสาหกรรมโดยวัดจากตัวเลขของ การลงทุนในภาคอุตสาหกรรม โดยผลลัพธ์จาการพัฒนาดังกล่าว ก่อให้เกิดการไม่เท่าเทียมกันในการจัดสรรทรัพยากรและการกระ จายรายได้ ซึ่งโดยแท้จริงแล้วภาคชนบทของไทยยังอยู่ในภาค เกษตร ทังที่หาพืชสัตว์ ตามป่า หรือที่ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ หากป่า ้ นา นำ้ายังสมบูรณ์ คนในชุมชนก็จะยังใช้ฐานทรัพยากรหล่อเลี้ยง
  • 7. ชีวิตแม้ไม่รำ่ารวยแต่ก็พออยู่พอกินไม่อดตาย แต่ถ้าหากเรายัง ปล่อยให้มีการพัฒนาแบบไม่สมดุลเช่นนี้เรื่อยไป เราจะได้เห็น ช่องว่างของคนรวยและคนจนมากขึ้น ชาวบ้านมีทางเลือกแค่ ٢ ทาง ถ้าไม่อดตายจากการหดหายไปของทรัพยากร ก็ต้องผันตัว มาเป็นกรรมกรในโรงงาน สารคดีนี้บอกอะไรบ้างเกี่ยวกับการผลิตภาคประประชาชน หากภาคประชาชนสามารถดูแลและเข้าถึงฐานทรัพยากรได้ แล้วไซร้ จะอย่างไรชุมชนก็มีอยู่ มีกิน หล่อเลี้ยงชีวิตได้ รวมถึง การผลิตภาคประชาชนนั้นเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างสมดุล มิได้ มุ่งเน้นในการตักตวงไปใช้แต่อย่างเดียว ดังจะเห็นได้จากกรณี ศึกษา ทัง ٦ จากสารคดีชุดนี้ ้ การผลิตภาคประชาชนนั้นมิสามารถแยกขาดจากจิต วิญญาณของชุมชนได้ ดังเช่น กรณีศึกษาที่ บ้านหนองเต่า อำาเภอ แม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ ที่ผนำาชุมชน ได้ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้าน ู้ มาบริหารจัดการชุมชนอย่าง สมดุล เช่น การกำาหนดเขตแนวป่าที่ ใช้ทำากินได้ กับพื้นที่ป่าศักดิ์สิทธิ์ห้ามเข้าไปทำากิน นี่แสดงให้เห็น ความสามารถในการจัดการในระดับชุมชนหมู่บ้าน เพื่อให้เกิด ความสมดุลในการใช้ทรัพยากร นอกจากนี้ในระดับครัวเรือน ชาว ปกากะญอรู้จักการคัดเลือกพันธุ์เมล็ดพืชเพื่อให้เหมาะสมต่อการ เติบโตในแต่ละช่วงเวลา ทำาให้มีอาหารกินทั้งปีอย่างหลากหลาย หรือการปลูกพืชหมุนเวียน เพื่อเปิดโอกาสให้หน้าผืนดินได้พื้นตัว นั้น หรือการปลูกข้าวของปกากะญอ โดย ต้นข้าวหลุมเดียวก็มีพืช ผักหลายชนิด มีทงข้าว มีทั้งผัก มีทั้งฟัก นอกจากนี้เราจะเห็นการ ั้ แบ่งงานกันทำาในครอบครัวตาม ความถนัดเช่น ผู้ชายออกไป ทำาการไถ่หว่าน ในยามว่างก็ตระเตรียมเครื่องมีอการเกษตร ส่วนผู้ หญิงก็ ดูแลผู้คนในบ้าน ยามว่างก็คัดเลือกเมล็ดพันพืชเพื่อเตรียม ใช้ปลูกในฤดูการถัดไป จากข้อเท็จจริงข้างต้นชี้ให้เห็นว่าวิถีการ ผลิตของชาวปกากะญอได้มีใช้ทรัพยากรอย่างสมดุลและยังยืน ่ อีกทั้งยังใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านที่สอดคล้องกับฐานทรัพยากรของ ตน ในกรณีศึกษาที่ ป่าดงใหญ่ จังหวัดอำานาจเจริญ หลังจาก ชาวบ้านได้รับบทเรียนจาการมุ่งเน้นตักตวงผลประโยชน์จากป่า
  • 8. เพียงอย่างเดียว จนทำาให้ปาเสื่อมโทรม ชาวบ้านได้เรียนรูว่า การ ่ ้ ใช้ทรัพยากรอย่างเห็นแก่ตัวไม่สามารถทำาให้ชาวบ้านอยู่กินได้ อย่างยั่งยืน ชุมชนป่าดงใหญ่หันมาตระหนักถึงความสำาคัญของป่า ชุมชนสามารถหาของกินจากป่าได้ ป่าเปรียบเสมือนแหล่งอาหาร อันอุดมของชุมชนและเพื่อมิให้เกิดความผิดพลาดเหมือนครั้งอดีต ชุมชนป่าดงใหญ่ได้ร่วมกันดูแลป่า ดังจะเห็นได้จากการ ที่ชุมชน ช่วยกันจับนายทุนที่เข้ามาลักลอบตัดไม้ในพื้นที่ป่า กับทางเจ้า หน้าที่ป่าไม่ จากข้อเท็จจริงข้างต้น อาจกล่าวได้ว่าการใช้ ทรัพยากรในการผลิตของชุมชนนั้นมิได้มุ่งหวังเพียงการตักตวงให้ มากที่สุดแต่อย่างเดียว แต่การผลิตของชุมชนมุ่งเน้นไปที่การดูแล รักษาแหล่งทรัพยากรการผลิตเพื่อให้หากิน หาใช้ได้อย่างยังยืน ่ นอกจากนี้ยังมีกรณีศึกษาที่ชุมชนเปร็ดใน จังหวัด ตราดที่แสดง ถึงการใช้ทรัพยากรอย่างถูกวิธี ยกตัวอย่าง เช่น ป้ายสโลแกน ” หยุดจับร้อยคอยจับล้าน” แสดงให้เห็นถึงการรู้จักใช้ทรัพยากร ของชุมชน ทังในการทำาปะมงพื้นบ้าน การทำาสวน การหาปูจากป่า ้ ชายเลน นอกจากนียังมีการตั้งกลุ่มสัจจะออมทรัพย์เพื่อเกื้อกูล ้ กันเองภายในชุมชน โดยไม่ต้องพึ่งพิงแหล่งทุนจากภายนอก หรือ อย่างในกรณีของ กิ่งอำาเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท ทีเริ่มจาก ่ ชายที่ชาวบ้านเรียกว่า “ไอ้บ้า” ทีหวนแหนทรัพยากรป่าโดยเริ่ม ่ จากคนเพียงไม่กี่คนขยายใหญ่เป็นกลุ่มเครือข่ายรอบป่า นอกจาก การรักษาป่าจะเป็นหน้าที่หลักของชายแล้ว ผู้หญิงในหมูบ้านที่ได้ ่ ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวในการดำาเนินชีวิต และได้จัดตั้ง รวมตัวเป็นกลุ่มแม่บ้านทำาการผลิตหน่อไม้แปรรูปอันเป็นผลพวง จากการรู้จักใช้ทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืน กล่าวโดยสรุปการผลิตภาคประชาชนนั้นอิงแอบจากฐาน ทรัพยาการที่อยู่ในพื้นที่ และหากชุมชนเข้ามามีสวนร่มในการ ่ รักษา ดูแลและใช้ประโยชน์ร่วมกันจากฐานทรัพยากร ไม่วาจะเป็น ่ ป่า หรือนำ้า ชุมชนสามารถทำาการผลิตได้โดยไม่ไปทำาลายฐาน ทรัพยากร เพราะในแต่ละชุมชนก็มีวิถีชีวิตและภูมิปัญญาชาวบ้าน ในการบริหารจัดการทรัพยากรของตนเองอย่างสมดุลและยั่งยืน สรุปในภาพรวมจากการดูสารคดีได้ ดังนี้ คือ รอยเท้าช้าง เกิดจากการมุ่งเน้นพัฒนาภาคอุตสาหกรโดยมิได้คำานึงถึงสิ่ง แวดล้อมและชุมชน ซึ่งถูกเหยีบยำ่าทำาลายจากรอยเท้าช้าง การมุ่ง เน้นแต่การพัฒนาโดยวัดผลจากตัวเลขการเติบโตทางเศรฐกิจ ได้
  • 9. ก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมในการกระจายรายได้โดย ตัวเงินที่ได้ จะกระจุกอยู่แต่เฉพาะกลุ่มทุนเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม ใน ขณะที่คนเล็กคนน้อยได้รับผลกระทบทางลบต่อชุมชนและวิถีชีวิต ซึ่งโดยแท้จริงแล้วการผลิตภาคประชาชนของชุมชนนั้นนอกจาก จะไม่ทำาลายฐานทรัพยากรแล้ว ยังเกิดการจัดตั้งรวมตัวเพื่อรักษา ฐานทรัพยากรอีกด้วย สุดท้ายนี้รัฐควรกำาหนดนโยบายการพัฒนา ที่สมดุล เพื่อให้เกิดความเท่าเทียมกันในการกระจายรายได้และ การเข้าถึงแหล่งทรัพยากรของชุมชน รัฐควรสร้างกลไกในการ รองรับสิทธิชุมชน รัฐควรศึกษาผลกระทบทังด้านสิ่งแวดล้อมและ ้ สุขภาพของคนในชุมชนก่อนอนุมัติการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกร รมโดยคึงนึงถึงเพียงแต่ตัวเลขจีดีพี ท้ายที่สุด เพื่อแก้ไขข้อผิด พลาดในอดีตรัฐควรใช้นโยบายการคลังเพื่อให้เกิดความเป็นธรรม ในการกระจายรายได้และความเป็นธรรมในสังคม