ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์(science)  หมาย
ถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ใน
ธรรมชาติ และกระบวนการค้นคว้า
หาความรู้ที่มีขั้นตอนมีระเบียบแบบแผน
วิทยาศาสตร์
องค์ประกอบของการศึกษาทางองค์ประกอบของการศึกษาทาง
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์1. กระบวนการ (process) หมายถึงการก
ระทำาคนซึ่งอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
คือ การสังเกต การกำาหนดปัญหา และการ
ตรวจสอบสมมุติฐาน
2. ความรู้ (knowledge) ได้แก่ผลจาก
การกระทำาของคน ซึ่งประกอบด้วย
ข้อมูล ข้อเท็จจริง ทฤษฎี และกฎ
กระบวนการหาความรู้ของนัก
วิทยาศาสตร์กระบวนการหาความรู้ของนักวิทยาศาสตร์ ประกอบ
ด้วย 3 ส่วนใหญ่ๆ คือ
1. ระเบียบวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ หรือ วิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ (Scientific
method)
หมายถึงวิธีการทำางานอย่างมีระบบ ซึ่งเริ่ม
จาก1.  การสังเกต(ทำาให้เกิดความสงสัย
และเป็นปัญหาเกิดขึ้น)
2.  กำาหนดปัญหาให้ชัึϹจน
3.  ตั้งสมมติฐาน เป็นการคาดคะเน
คำาตอบของปัญหาอย่างมีเหตุผล
4. ออกแบบการทดลองและทำาการ
ทดลองตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้
5.  สรุปผลการทดลอง หลังจากการ
วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของผลการ
ทดลองที่ได้อย่างมีเหตุผล
สังเกต – ระบุปัญหา --- ตั้งสมมุติฐาน
--- ทดลอง -- สรุปผล
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
สรุปวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์
    แบบที่ 1 ระบุปัญหา     ตั้ง
สมมติฐาน ทดลอง   สรุป
ผล 
แบบที่ 3  ระบุปัญหา ตั้ง
สมมุติฐาน   ศึกษาค้นคว้าและ
รวบรวมข้อมูล     ทดลอง    
สรุปผล
แบบที่ 2     ระบุปัญหา     ตั้ง
สมมุติฐาน    
ศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล  
 สรุปผล
รทางวิทยาศาสตร์ อาจแยกพิจารณา
วิธีการทางวิทยาศาสตร์วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ((ScientificScientific
Method)Method)
2. ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์หมายถึง ความชำานาญและประสบการณ์ใน
การใช้ความคิึϹพื่อแก้ปัญหา ทักษะที่จะนำาไป
สู่การแก้ปัญหาและสรุปเป็นความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ประกอบด้วยทักษะพื้นฐานที่
สำาคัญดังนี้ 
1.ทักษะการสังเกต 2.ทักษะ
การวัด
3. ทักษะการคำานวณ 4.ทักษะการ
จำาแนกและจัดหมวดหมู่
5. ทักษะการหาความสัมพันธ์
6. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
หมายถึงคุณลักษณะของบุคคลที่มีแนว
โน้มที่จะแสดงพฤติกรรมของตนออกมา
ซึ่งจะมีผลต่อความสำาเร็จของงานทาง
วิทยาศาสตร์เป็นอย่างมากเลย พูดง่ายๆ
คือนิสัยส่วนตัวของคนนั่นล่ะ ซึ่งลักษณะ
ที่สำาคัญได้แก่
3. กระบวนการหาความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ คือ "เจตคติทาง
วิทยาศาสตร์"
การเป็นคนช่างสังเกต หมายถึงการ
ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น
และกาย อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งหมด ใน
การพิจารณาสิ่งต่างๆ อย่างละเอียด แต่ต้อง
ระวังความปลอดภัยด้วยนะ)
1. เป็นคนช่างสงสัย
2. เป็นคนมีเหตุผล
3. เป็นคนมีความพยายามและอดทน
4. เป็นคนที่มีความพยายามและริเริ่ม
5. เป็นคนทำางานอย่างมีระเบียบระบบ
เป็นขั้นตอนตามระเบียบวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มี 6
ระดับ1.  ข้อเท็จจริง (Fact) คือสิ่งที่มนุษย์
พบว่าเป็นความจริง
2.  ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่
ได้จากการสังเกตหรือทดลอง แล้วนำา
ข้อมูลเสนอข้อมูลก็มี 2 แบบคือ ข้อมูลเชิง
ปริมาณ(มักใช้กราฟหรือตารางข้อมูล
บอก) และข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นการ
บรรยายลักษณะและพฤติกรรมที่ปรากฏ
ให้เราเห็นขณะทดลอง
3. สมมติฐาน
(Hypothesis) หมายถึง ข้อความที่
นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้นเพื่อคาดคะเน
คำาตอบของปัญหาล่วงหน้าก่อนที่จะ
 ดำาเนินการทดลอง สมมติฐานใดจะ
เป็นที่ยอมรับหรือไม่ขึ้นอยู่กับหลักฐาน
 เหตุผลที่จะสนับสนุนหรือคัดค้าน
(ข้อความที่เป็นสมมติฐานต้องเป็น
ข้อความคาดคะเนคำาตอบโดยที่บุคคล
นั้นยังไม่เคยรู้หรือเรียนมาก่อน)
4. ความคิดรวบยอด
(Concept) คือ ความคิดหลัก (Main
idea) ของแต่ละบุคคลที่มีต่อเหตุการณ์หรือ
ปรากฏการณ์นั้นๆ มโนมติเกิดจากการนำาข้อ
เท็จจริงมาศึกษาหรือเปรียบเทียบความแตก
 ต่าง สรุปรวมลักษณะที่สำาคัญ มองเห็นความ
สัมพันธ์ของสิ่งนั้นๆ สร้างเป็นความคิดหลักใน
   รูปที่แสดงถึงความคิด ความเข้าใจ ทำาให้นำา
ไปใช้ในการบรรยาย อธิบาย หรือพยากรณ์
 เหตุการณ์ วัตถุ และปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งแต่ละคนอาจมีนโนมติต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่
ตัวอย่าง
        1. โปรตีนเป็นสารอาหารที่มีอยู่ในเนื้อ
สัตว์
        2. ใบไม้แต่ละชนิดมีรูปร่างลักษณะแตก
ต่างกัน
        3. พืชใบเลี้ยงเดี่ยวเป็นพืชที่มีใบเลี้ยง
ออกมาเพียงใบเดียวและมีเส้นใบขนานกัน
        4. แมลง คือสัตว์ที่มีเขาและลำาตัวแบ่ง
ออกเป็น 3 ส่วน
        5. สัตว์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง กับสัตว์ที่มีกระดูกสัน
หลัง
5. กฎ (Law) หมายถึงสมมุติฐานที่ได้
รับการยอมรับว่าถูกต้อง มักเน้นความสัม
พันะระหว่างเหตุและผล
6. ทฤษฎี (Theory) หมายถึง
สมมุติฐานที่ผ่านการตรวจสอบหลายๆ
ครั้ง จนเป็นที่ยอมรับกัน(อาจเปลี่ยน
ได้ถ้ามีข้อมูลที่ดีกว่าเก่ามาแก้)
วิทยาศาสตร์
สรุป
พักทำาแบบ
ฝึกหัดก่อน
นะ

More Related Content

วิทยาศาสตร์