ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ความหมายของการสื่อสารข้อมูล
• การสื่อสารข้อมูล (Data communication) หมายถึง การส่งข้อมูล
หรือข่าวสาร จากผู้ส่งต้นทางไปยังผู้รับปลายทางที่อยู่ห่างไกล โดยผ่านช่อง
ทางการสื่อสารเพื่อเป็นสื่อกลางในการส่งข้อมูล ซึ่งอาจจะเป็นแบบใช้สาย หรือไม่
ใช้สายก็ได้
Data Communication and Networks
.
Data Communication and Networks
1. ข่าวสาร (Message)
2. ผู้ส่ง/แหล่งกาเนิดข่าวสาร (Sender/Source)
3. ผู้รับ/จุดหมายปลายทาง (Receiver/Destination)
4. สื่อกลางส่งข้อมูล (Transmission Medium)
5. โปรโตคอล (Protocol)
www.pcbc.ac.th
ส่วนประกอบของระบบการสื่อสารข้อมูล
1. ผู้ส่ง (Sender) เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็ นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมี
หน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็ นต้น
2. ผู้รับ (Receiver) เป็ นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องรับโทรทัศน์
เครื่องพิมพ์ เป็ นต้น
3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็ นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนาข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง สื่อ
ส่งข้อมูลอาจเป็ นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนาแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น
เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุผ่านดาวเทียม
4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร ซึ่งอาจถูกเรียกว่า
สารสนเทศ (Information) โดยแบ่งเป็ น 5รูปแบบ ดังนี้
4.1 ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหัสต่าง ๆ เช่น รหัสแอสกี เป็ นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่าง ๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะถูกแปลง
เป็ นเลขฐานสองโดยตรง
4.3 รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียงกันไปตามขนาดของรูปภาพ
4.4 เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพเพราะข้อมูลเสียงจะเป็ น
สัญญาณต่อเนื่องกันไป
4.5 วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพหลาย ๆ รูป
5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งสามารถ
เข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว ในคอมพิวเตอร์
โปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่ทาให้การดาเนินงาน ในการสื่อสารข้อมูลเป็ นไปตามโปรแกรมที่
กาหนดไว้ ตัวอย่างเช่น X.25, SDLC, HDLC, และ TCP/IP เป็ นต้น

More Related Content

การสื่อสารข้อมูล

  • 1. ความหมายของการสื่อสารข้อมูล • การสื่อสารข้อมูล (Data communication) หมายถึง การส่งข้อมูล หรือข่าวสาร จากผู้ส่งต้นทางไปยังผู้รับปลายทางที่อยู่ห่างไกล โดยผ่านช่อง ทางการสื่อสารเพื่อเป็นสื่อกลางในการส่งข้อมูล ซึ่งอาจจะเป็นแบบใช้สาย หรือไม่ ใช้สายก็ได้ Data Communication and Networks
  • 2. . Data Communication and Networks 1. ข่าวสาร (Message) 2. ผู้ส่ง/แหล่งกาเนิดข่าวสาร (Sender/Source) 3. ผู้รับ/จุดหมายปลายทาง (Receiver/Destination) 4. สื่อกลางส่งข้อมูล (Transmission Medium) 5. โปรโตคอล (Protocol) www.pcbc.ac.th ส่วนประกอบของระบบการสื่อสารข้อมูล
  • 3. 1. ผู้ส่ง (Sender) เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็ นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมี หน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็ นต้น 2. ผู้รับ (Receiver) เป็ นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องพิมพ์ เป็ นต้น 3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็ นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนาข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง สื่อ ส่งข้อมูลอาจเป็ นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนาแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุผ่านดาวเทียม
  • 4. 4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร ซึ่งอาจถูกเรียกว่า สารสนเทศ (Information) โดยแบ่งเป็ น 5รูปแบบ ดังนี้ 4.1 ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหัสต่าง ๆ เช่น รหัสแอสกี เป็ นต้น 4.2 ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่าง ๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะถูกแปลง เป็ นเลขฐานสองโดยตรง 4.3 รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียงกันไปตามขนาดของรูปภาพ 4.4 เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพเพราะข้อมูลเสียงจะเป็ น สัญญาณต่อเนื่องกันไป 4.5 วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพหลาย ๆ รูป 5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งสามารถ เข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว ในคอมพิวเตอร์ โปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่ทาให้การดาเนินงาน ในการสื่อสารข้อมูลเป็ นไปตามโปรแกรมที่ กาหนดไว้ ตัวอย่างเช่น X.25, SDLC, HDLC, และ TCP/IP เป็ นต้น