ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
โครงงาȨอมพิวเตอร์
จัดทาโดย
นาย ชนกนันท์ โกศลวัฒนกุล
ม.5/1 เลขที่ 9
นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์
ม.5/1 เลขที่ 15
ความหมายของโครงงาน
• โครงงาน หมายถึง กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา
ค้นคว้าและลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ
ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการอื่นใดไปใช้ในการศึกษาหา
คาตอบในเรื่องนั้นๆ
โดยมีครูผู้สอนคอยกระตุ้นแนะนาและให้คาปรึกษาแก่
ผู้เรียนอย่างใกล้ชิด ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา ค้นคว้า
ดาเนินการ วางแผน กาหนดขั้นตอนการดาเนินงาน โดย
ทั่วๆ ไป การทาโครงงานสามารถทาได้ทุกระดับการศึกษา
ซึ่งอาจทาเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่มก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
ลักษณะของโครงงาน
ความหมายของโครงงาȨอมพิวเตอร์
หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักรียนมีอิสระในการ
เลือกศึกษาปัญหาที่สนใจ โดยจะต้องวางแผนการ
ดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทาง
กระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และ
อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนา
โครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนา
โปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว
จุดมุ่งหมายสาคัญของการทาโครงงานเป็นการเปิด
โอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบ
คอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหา
ความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อ
การศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอย
ต่างๆ พัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ เพื่อ
ฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิด
ใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อน
มนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
โครงงาȨอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทาโครงงาȨอมพิวเตอร์
• ขั้นตอนการทาโครงงาȨอมพิวเตอร์
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน
4. การลงมือทาโครงงาน
5. การเขียนรายงาน
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
1. คัดเลือกหัวข้อที่สนใจ
โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงาȨอมพิวเตอร์
มักจะได้มาจากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่อง
ต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบ
คอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนามาพัฒนา
โครงงาȨอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆกัน
2. ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเอกสารและข้อมูล
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึง
การขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้
แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้
เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่อง
ที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผน
ดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ใน
การศึกษาจะต้องได้คาตอบว่า
3.จัดทาเค้าโครงของโครงงาน
เป็นขั้นตอนที่ใส่รายละเอียดที่สาคัญของโครงงานลงไป
เพื่อเป็นการวางแผนการทาโครงงาน เช่น แนวคิดที่มา
และความสาคัญ วัตถุประสงค์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ฯลฯ
4. การลงมือทาโครงงาน
เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่
ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทาโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้ว
มากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่
วางแผนไว้ ดังนี้
4.1 การเตรียมการ
4.2 การลงมือพัฒนา
4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข
4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ
4.5 แนวทางการพัฒนาในอนาคตและข้อเสนอแนะ
5. การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้
เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้
ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น
ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน
กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ
การเขียน
รายงาน
1. ส่วนนา 2. บทนา 3.หลักการ
และทฤษฎี
5. ผล
การศึกษา
4.
วิธีดาเนินการ
6. สรุปผล
และ
ข้อเสนอแนะ
7.
ประโยชน์
8.
บรรณานุ-
กรม
9. การ
จัดทาคู่มือ
การใช้งาน
6. การนาเสนอและแสดงโรงงาน
การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีก
ขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผล
ความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้
ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น
การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น
การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงาน
ด้วยคาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และ
อธิบายด้วยคาพูด เป็นต้น
โดยผลงานที่นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่ง
ต่อไปนี้
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน
5. วิธีการดาเนินการที่สาคัญ
6. การสาธิตผลงาน
7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทา
โครงงาน
บรรณานุกรมกรม
-ความหมายของโครงงาน
http://slamunder1.blogspot.com/
-ความหมายของโครงงาȨอมพิวเตอร์
-ขั้นตอนการทาโครงงาȨอมพิวเตอร์
www.acr.ac.th

More Related Content

โครงงาȨอมพิวเตอร์