ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
“วัึϸ้าȨป่ง”
ประวัติ
• วัึϸ้าȨป่ง คาว่า “โป่ง” มาจากคาว่า “ดินโป่ง” ซึ่งเป็นดินที่มีรสเค็ม
และเป็นอาหารมีรสอันโอชะของสัตว์นานาชนิด เดิมเขตอาเภอบ้าน
โป่งนี้เป็นป่าใหญ่เต็มไปด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด เป็นที่อยู่ของสัตว์น้อย
ใหญ่ทั้งหลายและยังมีแม่น้าแม่กลองไหลผ่าน จึงนับได้ว่าดินแดนแถบ
นี้อุดมสมบูรณ์ เมื่อมีคนมาอาศัยดินแดนแถบนี้ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยเป็น
หมู่บ้าน หมู่บ้านนี้จึงเรียกชื่อตามลักษณะดินในแถบนี้ว่า “บ้านโป่ง”
และเมื่อมีวัดเกิดขึ้นก็เรียกชื่อวัดตามหมู่บ้านนั้นว่า “วัึϸ้าȨป่ง”
• วัึϸ้าȨป่ง เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง ซึ่งมีอายุนานเกือบ ๒๐๐ ปี ตั้งอยู่
ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้าแม่กลอง ซึ่งไม่ห่างจากสถานีรถไฟเท่าใด
นัก เนื้อที่รอบๆ บริเวณวัดประมาณ ๕๐ กว่าไร่ มีประวัติความเป็นมา
ตามที่ผู้เฒ่าได้เล่าสืบต่อๆ กันมาพอจะจับใจความได้ดังนี้ เดิมทีได้มี
พระภิกษุลาวรูปหนึ่ง ได้มาสร้างกระท่อมมุงด้วยแฝกและได้จัดตั้งเป็น
สานักสงฆ์ขึ้นหากแต่ที่วัึϸ้าȨป่ง นั้นเต็มไปด้วยป่าไม้ใบหนา เป็นที่
อยู่อาศัยของสัตว์นานาชนิด เต็มไปด้วยภัยอันตรายมาก จึงไม่มีผู้ใด
อาศัยอยู่ ต่อมาจึงเสื่อมโทรมลงและไม่มีผู้ใดทราบว่าพระภิกษุลาวรูป
นั้นไปไหนและที่ใด
• ต่อมาราวพุทธศตวรรษที่ ๒๓ เมืองหงสาวดีเกิดความปั่นป่วนขึ้น
เนื่องจากภัยทางสงคราม ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างพม่ากับอังกฤษ เป็นเหตุ
ให้ชาวรามัญพากันอพยพหลบภัยแล้วข้ามมาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร
พระมหากษัตริย์ไทย โดยเข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์บ้าง ด่านสิงขร
บ้าง และได้เข้ามาตั้งรกรากทามาหากินกันเป็นหมู่ๆ ตามแถบฝั่ง
แม่น้าแม่กลอง ในครั้งกระนั้นก็ได้มีพระภิกษุชาวรามัญรูปหนึ่งที่ได้
อพยพหลบภัยสงครามเข้ามาในเมืองไทยด้วย พระภิกษุรามัญรูปนั้น
ชื่อว่า “พระภิกษุด่าง”
• หลวงพ่อด่างได้เข้ามาในสภาพที่เป็นพระสงฆ์ จึงไม่อาจจะอยู่ใน
หมู่บ้านรามัญร่วมกับเขาได้ จึงได้มาหาที่พานักใหม่และได้มาปลูก
กระท่อมมุงแฝก ณ ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้าแม่กลอง ซึ่งเดิมเป็น
สานักสงฆ์เก่าที่รกร้างไปแล้วนั้น หลวงพ่อด่างได้นาพระธาตุจากเมือง
ย่างกุ้งติดตัวมาด้วย และเพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งความหลังให้ระลึกถึง
มาตุภูมิเดิม หลวงพ่อด่างจึงได้สร้างเจดีย์ขึ้นองค์หนึ่งมี ๕ ยอด คล้าย
กับเจดีย์ชะเวดากองที่เมืองย่างกุ้ง เจดีย์องค์นี้ประชาชนทั่ว ๆ ไป
เรียกกันว่า“เจดีย์ ๕ ยอด” อันเป็นปูชนีสถานอันศักดิ์สิทธิ์เก่าแก่ของ
วัึϸ้าȨป่งนี้ด้วย
ศาสนสถานภายใȨัด
• พระพิศาลพัฒนโสภณ เกิดวันที่ ๖ กรกฏาคม ๒๔๗๕ วิทยฐานะ ป.ธ.
๕ น.ธ.เอก เจ้าอาวาสวัึϸ้าȨป่ง อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๓๒ – ๒๑๑๒๐๑ มือถือ ๐๘๑ – ๘๑๔๙๘๗๒
ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับศาลาการเปรียญวัึϸ้าȨป่ง ดังนี้
• เป็นศาลาเอนกประสงค์ ใช้เป็นสถานที่ประชุมสงฆ์ทั้งอาเภอบ้านโป่ง
และเป็นที่บาเพ็ญบุญของประชาชนที่มาทาบุญตามประเพณีเทศกาล
ต่าง ๆ เช่น วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันตรุษสงกรานต์ วัน วิ
สาขบูชา วันอาสาฬหบูชา ฯลฯ นอกจากนี้ทางราชการ สถานศึกษา
ได้มาขอใช้เป็นสถานที่ประชุมหรือจัดกิจกรรมต่าง ๆ เป็นประจา
• ศาลาเอนกประสงค์หลังนี้ เป็นศาลาหลังใหญ่ที่สุดในเขตภาค ๑๕ มี
ขนาดความยาว ๕๖ เมตร กว้าง ๒๘ เมตร มีความจุ ประมาณ ๓,๐๐๐
คน เป็นอาคาร ๒ชั้นชั้นล่างใช้ประโยชน์ทาเป็นห้องต่าง ๆ ได้แก่
สานักงานเจ้าคณะอาเภอบ้านโป่ง ศาลาบาเพ็ญกุศลย่อย เป็นห้องเก็บ
พัสดุของวัด ชั้นบนเป็นห้องโถงทั้งหมด มีแท่นพระประธานตรงกลาง
ศาลา
• องค์พระประธานมีนามว่า “สมเด็จพระพุทธมงคลบพิตร” ซึ่งได้กระทา
พิธีหล่อ ณ วัึϸ้าȨป่งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๒ และสมเด็จพระพุทธโฆษา
จารย์ประทานนามให้ สาหรับผนังภายในศาลาการเปรียญ มีภาพพระ
พุทธประวัติและภาพโพธิ์ตรัสรู้
• ศาลาเอนกประสงค์แห่งนี้มีชื่อว่า “วิจิตรธรรมรสวิโรจน์ประชาพิทักษ์”
คาว่า “วิจิตรธรรมรส” หมายถึง พระครูวิจิตรธรรมรส “วิโรจน์”
หมายถึง พระครูวิโรจน์ธรรมาภรณ์ “ประชา” หมายถึง ประชาชน
ทั่วไป และ”พิทักษ์” หมายถึง เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบันในสมัยนั้น คือ
พระครูพิทักษ์โลนภูมิ
• การก่อสร้างยังไม่สมบูรณ์แบบ เพราะยังไม่ได้ยกช่อฟ้า และชาวบ้าน
มีความเลื่อมใสจงรักภักดีในองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยาม
บรมราชกุมารี จึงกราบบังคมทูลขอพระปรมาภิไธยย่อ “สธ” มา
ประดิษฐานบนหน้าบันลงรักปิดทองกระจกเรียบร้อยเมื่อวันที่ ๑๑
เมษายน ๒๕๓๗ และเสด็จมาเป็นประธานประกอบพิธียกช่อฟ้าศาลา
การเปรียญและทรงเปิดหน้าบัน “สธ” ศาลาการเปรียญ ในวันที่ ๒๙
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ซึ่งนับว่าเป็นพระมหากรุณาธิคุณแก่วัดบ้าน
โป่งและชาวบ้านโป่ง
แผนผังภายในวัึϸ้าȨป่ง
จัดทาโดย
มัธยมศึกษาปีที่ 4/1
นายเกียรติศักดิ์ วันนะ เลขที่ 2
นายณัฐชานนท์ ทองประเพียร เลขที่ 4
นายธันวา สระสม เลขที่ 5
นางสาวนวลจรี แจ้งคา เลขที่ 18
นางสาวฐิชฌาภรณ์ จันทร์ที เลขที่ 31
นางสาวนนทพัทธ์ ลี่รัตนวิสุทธิ์ เลขที่ 32
นางสาวเปมิกา ผานาค เลขที่ 33
นางสาวศศิมณฑา รอดเทศ เลขที่ 34

More Related Content

วัึϸ้าȨป่ง

  • 3. • วัึϸ้าȨป่ง คาว่า “โป่ง” มาจากคาว่า “ดินโป่ง” ซึ่งเป็นดินที่มีรสเค็ม และเป็นอาหารมีรสอันโอชะของสัตว์นานาชนิด เดิมเขตอาเภอบ้าน โป่งนี้เป็นป่าใหญ่เต็มไปด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด เป็นที่อยู่ของสัตว์น้อย ใหญ่ทั้งหลายและยังมีแม่น้าแม่กลองไหลผ่าน จึงนับได้ว่าดินแดนแถบ นี้อุดมสมบูรณ์ เมื่อมีคนมาอาศัยดินแดนแถบนี้ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยเป็น หมู่บ้าน หมู่บ้านนี้จึงเรียกชื่อตามลักษณะดินในแถบนี้ว่า “บ้านโป่ง” และเมื่อมีวัดเกิดขึ้นก็เรียกชื่อวัดตามหมู่บ้านนั้นว่า “วัึϸ้าȨป่ง”
  • 4. • วัึϸ้าȨป่ง เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง ซึ่งมีอายุนานเกือบ ๒๐๐ ปี ตั้งอยู่ ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้าแม่กลอง ซึ่งไม่ห่างจากสถานีรถไฟเท่าใด นัก เนื้อที่รอบๆ บริเวณวัดประมาณ ๕๐ กว่าไร่ มีประวัติความเป็นมา ตามที่ผู้เฒ่าได้เล่าสืบต่อๆ กันมาพอจะจับใจความได้ดังนี้ เดิมทีได้มี พระภิกษุลาวรูปหนึ่ง ได้มาสร้างกระท่อมมุงด้วยแฝกและได้จัดตั้งเป็น สานักสงฆ์ขึ้นหากแต่ที่วัึϸ้าȨป่ง นั้นเต็มไปด้วยป่าไม้ใบหนา เป็นที่ อยู่อาศัยของสัตว์นานาชนิด เต็มไปด้วยภัยอันตรายมาก จึงไม่มีผู้ใด อาศัยอยู่ ต่อมาจึงเสื่อมโทรมลงและไม่มีผู้ใดทราบว่าพระภิกษุลาวรูป นั้นไปไหนและที่ใด
  • 5. • ต่อมาราวพุทธศตวรรษที่ ๒๓ เมืองหงสาวดีเกิดความปั่นป่วนขึ้น เนื่องจากภัยทางสงคราม ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างพม่ากับอังกฤษ เป็นเหตุ ให้ชาวรามัญพากันอพยพหลบภัยแล้วข้ามมาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร พระมหากษัตริย์ไทย โดยเข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์บ้าง ด่านสิงขร บ้าง และได้เข้ามาตั้งรกรากทามาหากินกันเป็นหมู่ๆ ตามแถบฝั่ง แม่น้าแม่กลอง ในครั้งกระนั้นก็ได้มีพระภิกษุชาวรามัญรูปหนึ่งที่ได้ อพยพหลบภัยสงครามเข้ามาในเมืองไทยด้วย พระภิกษุรามัญรูปนั้น ชื่อว่า “พระภิกษุด่าง”
  • 6. • หลวงพ่อด่างได้เข้ามาในสภาพที่เป็นพระสงฆ์ จึงไม่อาจจะอยู่ใน หมู่บ้านรามัญร่วมกับเขาได้ จึงได้มาหาที่พานักใหม่และได้มาปลูก กระท่อมมุงแฝก ณ ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้าแม่กลอง ซึ่งเดิมเป็น สานักสงฆ์เก่าที่รกร้างไปแล้วนั้น หลวงพ่อด่างได้นาพระธาตุจากเมือง ย่างกุ้งติดตัวมาด้วย และเพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งความหลังให้ระลึกถึง มาตุภูมิเดิม หลวงพ่อด่างจึงได้สร้างเจดีย์ขึ้นองค์หนึ่งมี ๕ ยอด คล้าย กับเจดีย์ชะเวดากองที่เมืองย่างกุ้ง เจดีย์องค์นี้ประชาชนทั่ว ๆ ไป เรียกกันว่า“เจดีย์ ๕ ยอด” อันเป็นปูชนีสถานอันศักดิ์สิทธิ์เก่าแก่ของ วัึϸ้าȨป่งนี้ด้วย
  • 8. • พระพิศาลพัฒนโสภณ เกิดวันที่ ๖ กรกฏาคม ๒๔๗๕ วิทยฐานะ ป.ธ. ๕ น.ธ.เอก เจ้าอาวาสวัึϸ้าȨป่ง อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี หมายเลขโทรศัพท์ ๐๓๒ – ๒๑๑๒๐๑ มือถือ ๐๘๑ – ๘๑๔๙๘๗๒ ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับศาลาการเปรียญวัึϸ้าȨป่ง ดังนี้
  • 9. • เป็นศาลาเอนกประสงค์ ใช้เป็นสถานที่ประชุมสงฆ์ทั้งอาเภอบ้านโป่ง และเป็นที่บาเพ็ญบุญของประชาชนที่มาทาบุญตามประเพณีเทศกาล ต่าง ๆ เช่น วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันตรุษสงกรานต์ วัน วิ สาขบูชา วันอาสาฬหบูชา ฯลฯ นอกจากนี้ทางราชการ สถานศึกษา ได้มาขอใช้เป็นสถานที่ประชุมหรือจัดกิจกรรมต่าง ๆ เป็นประจา • ศาลาเอนกประสงค์หลังนี้ เป็นศาลาหลังใหญ่ที่สุดในเขตภาค ๑๕ มี ขนาดความยาว ๕๖ เมตร กว้าง ๒๘ เมตร มีความจุ ประมาณ ๓,๐๐๐ คน เป็นอาคาร ๒ชั้นชั้นล่างใช้ประโยชน์ทาเป็นห้องต่าง ๆ ได้แก่ สานักงานเจ้าคณะอาเภอบ้านโป่ง ศาลาบาเพ็ญกุศลย่อย เป็นห้องเก็บ พัสดุของวัด ชั้นบนเป็นห้องโถงทั้งหมด มีแท่นพระประธานตรงกลาง ศาลา
  • 10. • องค์พระประธานมีนามว่า “สมเด็จพระพุทธมงคลบพิตร” ซึ่งได้กระทา พิธีหล่อ ณ วัึϸ้าȨป่งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๒ และสมเด็จพระพุทธโฆษา จารย์ประทานนามให้ สาหรับผนังภายในศาลาการเปรียญ มีภาพพระ พุทธประวัติและภาพโพธิ์ตรัสรู้ • ศาลาเอนกประสงค์แห่งนี้มีชื่อว่า “วิจิตรธรรมรสวิโรจน์ประชาพิทักษ์” คาว่า “วิจิตรธรรมรส” หมายถึง พระครูวิจิตรธรรมรส “วิโรจน์” หมายถึง พระครูวิโรจน์ธรรมาภรณ์ “ประชา” หมายถึง ประชาชน ทั่วไป และ”พิทักษ์” หมายถึง เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบันในสมัยนั้น คือ พระครูพิทักษ์โลนภูมิ
  • 11. • การก่อสร้างยังไม่สมบูรณ์แบบ เพราะยังไม่ได้ยกช่อฟ้า และชาวบ้าน มีความเลื่อมใสจงรักภักดีในองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยาม บรมราชกุมารี จึงกราบบังคมทูลขอพระปรมาภิไธยย่อ “สธ” มา ประดิษฐานบนหน้าบันลงรักปิดทองกระจกเรียบร้อยเมื่อวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๓๗ และเสด็จมาเป็นประธานประกอบพิธียกช่อฟ้าศาลา การเปรียญและทรงเปิดหน้าบัน “สธ” ศาลาการเปรียญ ในวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ซึ่งนับว่าเป็นพระมหากรุณาธิคุณแก่วัดบ้าน โป่งและชาวบ้านโป่ง
  • 13. จัดทาโดย มัธยมศึกษาปีที่ 4/1 นายเกียรติศักดิ์ วันนะ เลขที่ 2 นายณัฐชานนท์ ทองประเพียร เลขที่ 4 นายธันวา สระสม เลขที่ 5 นางสาวนวลจรี แจ้งคา เลขที่ 18 นางสาวฐิชฌาภรณ์ จันทร์ที เลขที่ 31 นางสาวนนทพัทธ์ ลี่รัตนวิสุทธิ์ เลขที่ 32 นางสาวเปมิกา ผานาค เลขที่ 33 นางสาวศศิมณฑา รอดเทศ เลขที่ 34