ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโྺทัยธรรมาธิราช
พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชสมัยรัชกาลปัจจุบันมีใจความดังนี้
ประวัติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
แนวคิดเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยเปิดเป็นความพยายามที่รัฐบาลจะขยายโอกาส เพื่อการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชนให้มากที่สุด
แนวคิดนี้ได้เคยนามาใช้แล้วในประเทศไทยโดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองซึ่งตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2476
ได้จัดการศึกษาระบบ"ตลาดวิชา"รับนักศึกษาโดยไม่มีการสอบคัดเลือกไม่บังคับให้เข้าฟังบรรยายแต่ยังคงใช้วิธีการจัดการศึกษา
ในลักษณะเดียวกับมหาวิทยาลัยทั่วไปคือใช้ชั้นเรียนเป็นหลักนักศึกษาอาจศึกษาได้ด้วยตนเองหรืออาจเข้าฟังบรรยาย
หรือไปพบอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยได้ ต่อมามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้
เปลี่ยนมาเป็นระบบจากัดการรับนักศึกษาเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ
ในปี พ.ศ. 2514ได้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยแบบตลาดวิชาขึ้นอีกแห่งหนึ่งคือมหาวิทยาลัยรามคาแหง
ซึ่งเปิดหลักสูตรการศึกษามากกว่ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในระยะที่เปิดสอนในระบบตลาดวิชา
และสามารถรับนักศึกษาได้เป็นจานวนมากแต่ยังคงจัดการศึกษาโดยอาศัยชั้นเรียนเป็นหลักเช่นเดียวกันทาให้มากวิทยาลัย
รามคาแหงประสบปัญหาต่างๆเป็นอันมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านอาคารสถานที่เรียน
ไม่สามารถขยายให้เพียงพอกับจานวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นทุกๆปี
หากมหาวิทยาลัยรามคาแหงจะขยายการจัดการศึกษาที่ดาเนินการอยู่นี้ให้เพียงพอกับความต้องการของผู้เรียนแล้ว
รัฐบาลและมหาวิทยาลัยจะต้องรับภาระหนักในด้านการลงทุนซึ่งเพิ่มขึ้นทุกปี ไม่มีวันสิ้นสุดเพื่อเป็นการขยายและกระจายโอกาส
ทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชนให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยใช้ทรัพยากรที่มีจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
จัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นอีกแห่งหนึ่งมีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด
รัฐบาลจึงดาเนินการดาเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานชื่อ"มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช"ตามพระนามเดิมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่7 เมื่อครั้งทรงดารงพระอิสริยยศเป็น"กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา"และพระราชทาน
พระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่7ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์
นามาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของกรุงสุโขทัยเป็นตราประจามหาวิทยาลัย
เมื่อวันที่ 5 กันยายนพ.ศ.2521 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธย
ในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมหาวิทยาลัยจึงกาหนดวันที่5กันยายนของทุกปีเป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัย
ในฐานะที่เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมีอานาจให้ปริญญา
และประกาศนียบัตรที่มีศักดิ์และสิทธิเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยของรัฐอื่นๆทุกประการ
ในวันที่ 24 ตุลาคมพ.ศ.2521 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
แต่งตั้งกรรมการสภามหาวิทยาลัยชุดแรกรวมทั้งได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้งศาสตราจารย์ดร.วิจิตรศรีสอ้าน
ให้ดารงตาแหน่งอธิการบดีคนแรกหลังจากได้ใช้เวลาเตรียมการด้านต่างๆเพื่อให้พร้อมที่จะเปิดสอนเป็นเวลาประมาณ2ปี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจึงได้เปิดรับนักศึกษารุ่นแรกเมื่อวันที่1ธันวาคมพ.ศ.2523 สาขาวิชาที่เปิดสอน3สาขาวิชาคือ
สาขาวิชาศิลปศาสตร์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ และสาขาวิชาวิทยาการจัดการ
ต่อมา มหาวิทยาลัยได้ขยายการเปิดรับนักศึกษาเพิ่มขึ้นตามลาดับดังนี้
ปีการศึกษา2524เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพสาขาวิชานิติศาสตร์
ปีการศึกษา2525เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ และสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์
(ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์)
ปีการศึกษา2526เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตร์
ปีการศึกษา2527เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์
ปีการศึกษา2538เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปีการศึกษา2544เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ รวมเป็น12สาขาวิชา
การจัดการการศึกษาระดับปริญญาตรีโดยระบบการศึกษาทางไกลได้รับความสาเร็จและได้รับการยอมรับในมาตรฐานเทียบเท่ากับมห
าวิทยาลัยของรัฐ
จึงได้ขยายการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ที่จะศึกษาต่อในระดับสูงกว่าปริญญาตรี
โดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงมีนโยบายให้เปิดสอนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาในระดับปริญญาโท
ตามลาดับดังนี้
ปีการศึกษา2536เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาศึกษาศาสตร์
ปีการศึกษา2542เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์
ปีการศึกษา2543เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาการจัดการสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
และสาขาวิชาส่งเสริมเกษตรและสหกรณ์
ปีการศึกษา2544เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์
ปีการศึกษา2545เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศาสตร์
ปีการศึกษา2546เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตร์ และสาขาวิชานิเทศศาสตร์
ปีการศึกษา2548เปิดรับนักศึกษาสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์
ปีการศึกษา2552สาขาวิชานิติศาสตร์
นอกจากนี้มหาวิทยาลัยได้เปิดสอนระดับปริญญาเอก ตามลาดับดังนี้
ปีการศึกษา2549เปิดหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาศึกษาศาสตร์
ปีการศึกษา2551เปิดหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการจัดการ
ปีการศึกษา2553เปิดหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชานิเทศศาสตร์
และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตแขนงวิชาส่งเสริมการเกษตรวิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์
:: สัญลักษณ์ ปณิธานวิสัยทัศน์พันธกิจ
ตราประจามหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยได้รับพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์เรียงกันภายใต้พระมหามงกุฏนามาประกอบกับส่วนยอดของเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์
ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของกรุงสุโขทัยเป็นตราประจามหาวิทยาลัย
ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
ร่วมแรงร่วมใจ
ใฝ่ คุณธรรม
นาสิ่งใหม่
เรียรู้ได้ทุกที่
สีประจามหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยกาหนดให้ สีเขียวและสีทองเป็นสีประจามหาวิทยาลัยสีเขียวเป็นสีประจาวันพุธ
ซึ่งเป็นวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
สีทอง เป็นสีแห่งความเป็นสิริมงคล
ต้นไม้ประจามหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยกาหนดให้ ต้นปาริชาตหรือต้นทองหลางลายเป็นต้นไม้ประจามหาวิทยาลัยเนื่องจากมีใบเป็นสีเขียว
และเส้นใบเป็นสีทองตรงกับสีเขียวทองซึ่งเป็นสีประจามหาวิทยาลัย
ปณิธาน
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชในฐานะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิดยึดหลักการศึกษาตลอดชีวิต
มุ่งพัฒนาคุณภาพของประชาชนทั่วไปเพิ่มพูนวิทยฐานะแก่
ผู้ประกอบอาชีพและขยายโอกาสทางการศึกษาต่อสาหรับผู้สาเร็จมัธยมศึกษา
เพื่อสนองความต้องการของบุคคลและสังคมด้วยการจัดระบบการเรียนการสอนทางไกลซึ่งใช้สื่อการสอนทางไปรษณีย์
วิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์และวิธีการอื่นที่ผู้เรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องเข้าชั้นเรียนตามปกติ
พันธกิจ
1. ผลิตบัณฑิต
2. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกระดับของประเทศ
3. พัฒนาชุมชนองค์กรและสถาบันในสังคมเพื่อนาไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้
4. วิจัย ส่งเสริมและพัฒนาองค์ความรู้ และภูมิปัญญาไทย
5. อนุรักษ์ ส่งเสริมและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม
วิสัยทัศน์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชเป็นมหาวิทยาลัยเปิดที่ใช้ระบบการศึกษาทางไกลชั้นนาของโลก
ให้การศึกษาตลอดชีวิตสาหรับทุกคน
เป้ าประสงค์/วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนามสธ.ให้เป็นมหาวิทยาลัยเปิดทางไกลชั้นนาที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล
เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรมนาความรู้และจัดการศึกษาให้มีคุณภาพได้มาตรฐานตอบสนองต่อการพัฒนาสังคมและประเทศ
เพื่อเป็นมหาวิทยาลัยเปิดทางไกลที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยพัฒนาสู่ระบบการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์
:: การบริหาร
:: บุคลากร
บุคลากรมหาวิทยาลัย
บุคลากรของมหาวิทยาลัย ประกอบด ้วย ข ้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างประจางบประมาณแผ่นดินและเงินรายได ้
ลูกจ้างชั่วคราวงบประมาณแผ่นดินและเงินรายได ้ รายละเอียดข ้อมูล ดังนี้
บุคลากร
ประเภท จานวน (คน)
ข ้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
พนักงานมหาวิทยาลัย
ลูกจ ้างประจางบประมาณแผ่นดิน
ลูกจ ้างประจาเงินรายได ้
ลูกจ ้างประจาลักษณะพิเศษ
ผู้ทรงคุณวุฒิ(เงินรายได ้)
ลูกจ ้างชั่วคราวรายเดือนเงินรายได ้
พนักงานชั่วคราว ตาแหน่งอาจารย์ประจาพิเศษ
ลูกจ ้างชั่วคราวชาวต่างประเทศ (รายปี-งบประมาณแผ่นดิน)
ลูกจ ้างชั่วคราวชาวต่างประเทศ (รายปี-งบประมาณเงินรายได ้)
ผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษตาแหน่งอาจารย์(งบประมาณแผ่นดิน)
858
332
114
292
96
8
648
21
1
1
1
รวม 2,372
ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
ประเภท จานวน (คน)
สายวิชาการ
สายสนับสนุนวิชาการ
220
638
รวม 858
พนักงานมหาวิทยาลัย
ประเภท จานวน (คน)
สายวิชาการ
สายปฏิบัติการวิชาชีพและบริหารทั่วไป
132
200
รวม 332
ข ้อมูล ณ วันที่ 22 มกราคม 2557
การจัดการความรู้
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
วิสัยทัศน์(VISSION)
มสธ.เป็นต้นแบบของการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (STOUKMBest Practices)
พันธกิจ:(MISSION)
• สร้างระบบการจัดการความรู้ ให้เป็นวัฒนธรรมองค์กรของมสธ.ที่ยั่งยืน
• ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการจัดการความรู้ เพื่อนามาใช้ในการพัฒนาระบบและกระบวนการ
ทางานให้เกิดคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
• พัฒนาฐานความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อสนับสนุนต่อพันธกิจของมหาวิทยาลัย
สนับสนุนแผนยุทธศาสตร์
ของมหาวิทยาลัย
วิสัยทัศน์มสธ.
เป็นมหาวิทยาลัยเปิดทางไกลชั้นนาของโลกที่ใช้ระบบการศึกษาทางไกลโดยมุ่งขยายโอกาสทางการศึกษา
และยึดหลักการศึกษาต่อเนื่องตลอดชีวิตเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและให้บริการที่มีคุณภาพ
พันธกิจ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์รวมถึงพัฒนาชุมชนองค์กรสถาบันในสังคมเพื่อนาไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้และสังคมฐานความรู้
วิสัยทัศน์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เป็นมหาวิทยาลัยเปิดทางไกลชั้นนาของโลกที่ใช้ระบบการศึกษาทางไกลโดยมุ่งขยายโอกาสทางการศึกษาและยึดหลักการศึกษาต่อเนื่
องตลอดชีวิตเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและให้บริการที่คุณภาพ
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ (VISSION)
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นต้นแบบของการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อ
มุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (STOUKMBestPractices)
พันธกิจ(MISSION)
1.สร้างระบบการจัดการความรู้ ให้เป็นวัฒนธรรมองค์กรของมสธ.ที่
2.ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการจัดการความรู้ เพื่อนามาใช้ในการพัฒนาระบบและกระบวนการ
ทางานให้เกิดคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
3. พัฒนาฐานความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อสนับสนุนต่อพันธกิจของมหาวิทยาลัย
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโྺทัยธรรมาธิราช

More Related Content

การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโྺทัยธรรมาธิราช