ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ชีวิตྺองȨกศึกษากับพระราชวังสนามจัȨร์
กลุ่มที่  14 ชีวิตྺองȨกศึกษากับพระราชวังสนามจัȨร์ 1  นายพีรติ ศรีวัฒน์   05520236 2  นายนรชัย สุนทรเนตร   07520748 3  นางสาวเบญญาภา จิวมงคลชัย   07520760 4  นาย นรุฒน์ มะลิทอง  07520750  5  นางสาวภัทราภรณ์ วัดปั้น   07520784 6  นางสาวอภิชญา ชูใจ   07520843 7  นายอุกฤษฏ์ ศุภกุล   07520851 8  นางสาวปริชญา บวงสรวง   07520772 9  นายประเมษฐ์ อัชณาเอกลาภ   09510418 10  นางสาวปรียาภรณ์ คำแก้ว   07520773
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ เป็นที่รู้จักในชื่อว่า  " ม . ทับแก้ว "  ตั้งอยู่ในบริเวณพระราชวังสนามจันทร์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ซึ่งเคยเป็นพระราชวังของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ใช้เป็นที่ก่อสร้างอาคารของมหาวิทยาลัย  428  ไร่ โดยเป็นที่ตั้งของคณะอักษรศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  ( ชั้นปีที่  1-2)  นอกจากนี้ ยังเป็นที่ตั้งของโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งเปิดให้มีการเรียนการสอนแบบสหศึกษาแก่นักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล ประถมศึกษาปีที่  1-6 และชั้นมัธยมปีที่  1-6  ดังนั้นชีวิตของนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร จึงมีความผูกพันกับพระราชวัง  สนามจันทร์ เป็นอย่างมาก
พระราชวังสนามจันทร์ ซึ่งเป็นเขตพระราชฐานและพื้นที่ติดกับมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ พระราชวังสนามจันทร์แห่งนี้ตั้งอยู่ในบริเวณซึ่งเดิมเรียกว่าเนินปราสาท พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว  ( รัชกาลที่   6) ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างพระราชวังขึ้นเมื่อครั้งยังทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร พระที่นั่งและอาคารภายในพระราชวังสนามจันทร์ ทรงพระราชทานนามคล้องจองกันคือ ๶ทวาลัยคเณศร์   พระตำหȨกทับขวัญ   พระที่นั่งพิมานปฐม   พระที่Ȩ่งอภิรมย์ฤึϸ   พระที่นั่งวัชรีรมยา   พระที่Ȩ่งสามัคคีมุྺมาตย์ ปราสาทศรีวิชัย   ศาลาธรรมเทศน์โอฬาร   พระที่นั่งปาฏิหาริย์ทัศไนย พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์   พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์   พระตำหนักทับแก้ว
  พระที่นั่งพิมานปฐม            พระที่นั่งพิมานปฐม เป็นพระที่นั่งองค์แรกภายในพระราชวังสนามจันทร์ ใช้เป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งแต่ก่อนเสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ จนถึงปีพุทธศักราช  2458  นอกจากนี้ยังใช้เป็นที่ทรงอักษร แปลบทพระราชนิพนธ์ เรื่องโรมิโอและจูเรียต เสด็จออกขุนนาง รับรองพระราชอาคันตุกะ และออกให้ราษฎรเข้าเฝ้ามากกว่าพระที่นั่งและตำหนักอื่นๆ โดยได้ทำพิธีขึ้นตำหนักเมื่อวันที่  13  มกราคม พ . ศ . 2453
พระที่Ȩ่งอภิรมย์ฤึϸ            พระที่Ȩ่งอภิรมย์ฤึϸ เป็นพระที่นั่งสองชั้นติดต่อกับพระที่นั่งพิมานปฐม ออกไปทางทิศใต้ สร้างขึ้นในปีพ . ศ .  2463  ซึ่งในช่วงนั้นเริ่มมีพระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายใน สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา ทรงใช้พระตำหนักองค์นี้ประทับ
พระที่Ȩ่งสามัคคีมุྺมาตย์   ในพระราชกิจจานุเบกษากล่าวว่า เป็นท้องพระโรง เป็นพระที่นั่งโถงใหญ่ เชื่อมต่ออยู่กับพระที่นั่งวัชรีรมยา ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ใช้สำหรับประชุมเสือป่า ประกอบพิธีกรรม ซ้อมและเล่นโขน - ละคร และใช้ในโอกาสสำคัญอื่นๆอีกหลายครั้ง แต่ก่อนที่ทางจังหวัดนครปฐมจะน้อมเกล้าฯถวายพื้นที่และพระตำหนักในบริเวณนี้คืน พระตำหนักองค์นี้ใช้เป็นหอประชุมของจังหวัด ปัจจุบันมีการจัดการแสดงนาฏศิลป์ไทยทุกวันเสาร์และอาทิตย์
๶ทวาลัยคเณศร์   ๶ทวาลัยคเณศร์ เป็นศาลเทพารักษ์สำหรับพระราชวังสนามจันทร์ เป็นที่ประดิษฐานของพระคเณศร์ หรือ พระพิฆเนศวร เทพผู้มีเศียรเป็นช้าง เป็นเทพเจ้าแห่งศิลปะวิทยาการและการประพันธ์ ทั้งยังเป็นผู้ขจัดอุปสรรคทั้งมวลด้วย ๶ทวาลัยคเณศร์ตั้งอยู่ที่สนามหญ้าหน้าพระที่นั่งพิมานปฐม สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้าทรงโปรดปรานศิลปะวิทยาการและการประพันธ์เป็นพิเศษ จึงทรงโปรดเกล้าฯให้สร้าง๶ทวาลัยคเณศร์ไว้ ณ ที่อันเป็นศูนย์กลางของพระราชวังสนามจันทร์ สำหรับบวงสรวงบูชาและเพื่อความเป็นสิริมงคลแห่งพระราชวังสนามจันทร์
พระตำหนัก ชาลีมงคลอาสน์           พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ เป็นพระตำหนักที่มีลักษณะคล้ายปราสาทขนาดย่อมลักษณะสถาปัตยกรรมแบบเรเนซองส์   (Renaissance)  ของฝรั่งเศสและอาคารแบบฮาล์ฟทิมเบอร์  ( Half Timber)  ของอังกฤษ แต่ดัดแปลงให้เหมะสมกับสภาพดินฟ้าอากาศในประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้เป็นที่ประทับในฐานะที่ทรงเป็นผู้บัญชาการเสือป่า เมื่อมีการซ้อมรบเสือป่า ณ พระราชวังสนามจันทร์ และพระองค์โปรดที่จะประทับตลอดช่วงปลายรัชกาล เมื่อเสด็จฯยังพระราชวังสนามจันทร์
พระตำหนัก มารีราชรัตบัลลังก์   พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์สร้างขึ้นคู่กับพระตำหนักชาลีฯ โดยฉนวนทางเดินทำเป็นสะพานจากชั้นบนด้านหลังของพระตำหนักชาลีฯ ทั้งหมดนี้เป็นกลุ่มอาคารที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่  6  โปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นด้วยแรงบันดาลพระราชหฤทัยจากบทละครเรื่อง  My Friend Jarlet  ของ  Arnold Golsworthy  และ  E.B. Norman  ซึ่งทรงแปลบทละครเรื่องนี้เป็นภาษาไทยชื่อว่า  “ มิตรแท้ ”  โดยทรงนำชื่อตัวละครในเรื่องมาเป็นชื่อของพระตำหนัก หลังจากมีการบูรณะพระตำหนักองค์นี้ใหม่ทั้งองค์ จึงได้จัดเป็นพิพิธภัณฑ์พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระตำหȨกทับขวัญ   พระตำหȨกทับขวัญเป็นเรือนไทยที่สมบูรณ์แบบ พระตำหนักองค์นี้เป็นเรือนไม้กระดานตัวเรือนทั้งหลังรวมทั้งพื้นที่นอกชานทำด้วยไม้สักทั้งหลัง ใช้วิธีเข้าไม้ตามแบบฉบับของชาวไทยโบราณ รอบๆบริเวณปลูกไม้ไทยชนิดด่างๆ นับเป็นเรือนที่อยู่ในประเภทเรือนคหบดีและมีส่วนประกอบครบ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่  6  ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นเพื่อรักษาศิลปะบ้านไทยแบบโบราณ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มีพระราชพิธีเฉลิมพระตำหȨกทับขวัญ เมื่อวันที่  25  มกราคม พ . ศ .  2454  และพระองค์ได้ประทับแรม ณ พระตำหนักนี้  1  คืน ในสมัยนั้น เมื่อมีการซ้อมรบเสือป่า พระตำหนักองค์นี้ได้ใช้เป็นที่ตั้ง กองบัญชาการเสือป่าราบหนักรักษาพระองค์
พระตำหนักทับแก้ว พระตำหนักทับแก้ว เป็นอาคารตึกสองชั้น ในพระราชวังสนามจันทร์ เคยเป็นที่ประทับในฤดูหนาว ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่  6  ภายในอาคารมีเตาผิงและหลังคา มีปล่องไฟตามแบบตะวันตก เหนือเตาผิงมีภาพฝีพระหัตถ์ สีถ่าน รูปพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  ในระหว่างที่มีการซ้อมรบเสือป่า ทับแก้ว เป็นที่ตั้งกองบัญชาการเสือป่ากองเสนาน้อยราบเบารักษาพระองค์  อนึ่งที่ดินบริเวณเบื้องหลังทับแก้วประมาณ  450  ไร่ ได้กลายเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากร  ปัจจุบันสำนักพระราชวังได้อนุญาตให้สมาคมประวัติศาสตร์ฟุตบอลแห่งประเทศไทย ดำเนินการจัดแสดงเป็น  " พิพิธภัณฑ์คณะฟุตบอลแห่งสยาม "  เพื่อน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ  สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า ในพระราชกรณียกิจด้านกีฬาฟุตบอลของชาติ
อนุสาวรีย์ย่าเหล   “ ย่าเหล ”  เป็นสุนัขพันทาง หางเป็นพวง สีขาวด่างดำ หูตก เกิดในเรือนจำจังหวัดนครปฐม เป็นสุนัขของหลวงชัยอาญา  ( โพธิ์ เคหะนันท์ )  ซึ่งเป็นพะทำมะรง  ( ผู้ควบคุมนักโทษ )  อยู่ในขณะนั้น   ( ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระพุทธเกษตรานุรักษ์ )  เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ได้น้อมเกล้าฯถวายจึงทรงรับมาเลี้ยงและพระราชทานนามว่า  “ ย่าเหล ”
จากการที่เข้าไปสำรวจข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร  พบนักศึกษาได้ใช้พื้นที่พระราชวังสนามจันทร์ในการทำกิจกรรม  ต่างๆ ดังนี้ นักศึกษาเข้าไปนั่งพักผ่อน หย่อนใจ นั่งจับกลุ่มพูดคุยกัน
จากการที่เข้าไปสำรวจข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ศิลปากร  พบนักศึกษา ได้ใช้พื้นที่พระราชวังสนามจันทร์ ในการทำกิจกรรม  ต่างๆ ดังนี้ นักศึกษาเข้าไปให้อาหารปลา ให้อาหารเป็ด
จากการที่เข้าไปสำรวจข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ศิลปากร  พบนักศึกษา ได้ใช้พื้นที่พระราชวังสนามจันทร์ ในการทำกิจกรรม  ต่างๆ ดังนี้ นักศึกษาเข้าไปเดินชมความงามของพระราช  วังสนามจันทร์
จากการที่เข้าไปสำรวจข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ศิลปากร พบนักศึกษา ได้ใช้พื้นที่พระราชวังสนามจันทร์ ในการทำกิจกรรม  ต่างๆ ดังนี้ นักศึกษาเข้าไปสักการะ  ๶ทวาลัยคเณศร์
จากการที่เข้าไปสำรวจข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ศิลปากร  พบนักศึกษา ได้ใช้พื้นที่พระราชวังสนามจันทร์ ในการทำกิจกรรม  ต่างๆ ดังนี้ นักศึกษาเข้าไปถ่ายรูปพระราชวังสนามจันทร์
จากการที่เข้าไปสำรวจข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ศิลปากร  พบนักศึกษา ได้ใช้พื้นที่พระราชวังสนามจันทร์ ในการทำกิจกรรม  ต่างๆ ดังนี้ นักศึกษา  เข้าไปวาดรูป  สะเก็ตภาพ พระราชวังสนามจันทร์
จากการที่เข้าไปสำรวจข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ศิลปากร พบนักศึกษา ได้ใช้พื้นที่พระราชวังสนามจันทร์ ในการทำกิจกรรม  ต่างๆ ดังนี้ ไปวิ่งออกกำลังกาย   เล่นบาสเก็ตบอล   ฯลฯ ใช้เครื่องออกกำลังกาย   เตะฟุตบอล   เล่นแบดมินตัน   นักศึกษาได้เข้าไปออกกำลังกายในพระราชวังสนามจันทร์
ปัญหา และ อุปสรรค รวบรวมสมาชิกในกลุ่มได้ยากเพราะมาจากต่างคณะกัน การทำงาน ประสานงานในกลุ่มมีอุปสรรคเล็กน้อยเพราะเวลาของสมาชิกในกลุ่ม ว่างไม่ตรงกัน จึงเกิดปัญหาในการประสานงาน แต่สามารถแก้ไขได้ โดยการมีกานัดหมายกันก่อน สภาพอากาศที่พระราชวังในตอนกลางวันมีสภาพอากาศที่ร้อนมาก จึงทำให้เกิดอุปสรรคในการเข้าไปค้นคว้าข้อมูลและถ่ายภาพ มีปัญหาเรื่อง   Font  ในการ  Upload  ลง  ݺߣ share
เอกสารอ้างอิง http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C http://www.moohin.com/018/018k005.shtml http://www.rssthai.com/reader.php?r=13215&t=travel ป้ายบอกข้อมูลและสถานที่ในบริเวณพระราชวังสนามจันทร์

More Related Content

ชีวิตྺองȨกศึกษากับพระราชวังสนามจัȨร์

  • 2. กลุ่มที่ 14 ชีวิตྺองȨกศึกษากับพระราชวังสนามจัȨร์ 1 นายพีรติ ศรีวัฒน์ 05520236 2 นายนรชัย สุนทรเนตร 07520748 3 นางสาวเบญญาภา จิวมงคลชัย 07520760 4 นาย นรุฒน์ มะลิทอง 07520750 5 นางสาวภัทราภรณ์ วัดปั้น 07520784 6 นางสาวอภิชญา ชูใจ 07520843 7 นายอุกฤษฏ์ ศุภกุล 07520851 8 นางสาวปริชญา บวงสรวง 07520772 9 นายประเมษฐ์ อัชณาเอกลาภ 09510418 10 นางสาวปรียาภรณ์ คำแก้ว 07520773
  • 3. มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ เป็นที่รู้จักในชื่อว่า " ม . ทับแก้ว " ตั้งอยู่ในบริเวณพระราชวังสนามจันทร์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ซึ่งเคยเป็นพระราชวังของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ใช้เป็นที่ก่อสร้างอาคารของมหาวิทยาลัย 428 ไร่ โดยเป็นที่ตั้งของคณะอักษรศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ( ชั้นปีที่ 1-2) นอกจากนี้ ยังเป็นที่ตั้งของโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งเปิดให้มีการเรียนการสอนแบบสหศึกษาแก่นักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล ประถมศึกษาปีที่ 1-6 และชั้นมัธยมปีที่ 1-6 ดังนั้นชีวิตของนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร จึงมีความผูกพันกับพระราชวัง สนามจันทร์ เป็นอย่างมาก
  • 4. พระราชวังสนามจันทร์ ซึ่งเป็นเขตพระราชฐานและพื้นที่ติดกับมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ พระราชวังสนามจันทร์แห่งนี้ตั้งอยู่ในบริเวณซึ่งเดิมเรียกว่าเนินปราสาท พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ 6) ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างพระราชวังขึ้นเมื่อครั้งยังทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร พระที่นั่งและอาคารภายในพระราชวังสนามจันทร์ ทรงพระราชทานนามคล้องจองกันคือ ๶ทวาลัยคเณศร์ พระตำหȨกทับขวัญ พระที่นั่งพิมานปฐม พระที่Ȩ่งอภิรมย์ฤึϸ พระที่นั่งวัชรีรมยา พระที่Ȩ่งสามัคคีมุྺมาตย์ ปราสาทศรีวิชัย ศาลาธรรมเทศน์โอฬาร พระที่นั่งปาฏิหาริย์ทัศไนย พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์ พระตำหนักทับแก้ว
  • 5.   พระที่นั่งพิมานปฐม          พระที่นั่งพิมานปฐม เป็นพระที่นั่งองค์แรกภายในพระราชวังสนามจันทร์ ใช้เป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งแต่ก่อนเสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ จนถึงปีพุทธศักราช 2458 นอกจากนี้ยังใช้เป็นที่ทรงอักษร แปลบทพระราชนิพนธ์ เรื่องโรมิโอและจูเรียต เสด็จออกขุนนาง รับรองพระราชอาคันตุกะ และออกให้ราษฎรเข้าเฝ้ามากกว่าพระที่นั่งและตำหนักอื่นๆ โดยได้ทำพิธีขึ้นตำหนักเมื่อวันที่ 13 มกราคม พ . ศ . 2453
  • 6. พระที่Ȩ่งอภิรมย์ฤึϸ          พระที่Ȩ่งอภิรมย์ฤึϸ เป็นพระที่นั่งสองชั้นติดต่อกับพระที่นั่งพิมานปฐม ออกไปทางทิศใต้ สร้างขึ้นในปีพ . ศ . 2463 ซึ่งในช่วงนั้นเริ่มมีพระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายใน สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา ทรงใช้พระตำหนักองค์นี้ประทับ
  • 7. พระที่Ȩ่งสามัคคีมุྺมาตย์ ในพระราชกิจจานุเบกษากล่าวว่า เป็นท้องพระโรง เป็นพระที่นั่งโถงใหญ่ เชื่อมต่ออยู่กับพระที่นั่งวัชรีรมยา ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ใช้สำหรับประชุมเสือป่า ประกอบพิธีกรรม ซ้อมและเล่นโขน - ละคร และใช้ในโอกาสสำคัญอื่นๆอีกหลายครั้ง แต่ก่อนที่ทางจังหวัดนครปฐมจะน้อมเกล้าฯถวายพื้นที่และพระตำหนักในบริเวณนี้คืน พระตำหนักองค์นี้ใช้เป็นหอประชุมของจังหวัด ปัจจุบันมีการจัดการแสดงนาฏศิลป์ไทยทุกวันเสาร์และอาทิตย์
  • 8. ๶ทวาลัยคเณศร์ ๶ทวาลัยคเณศร์ เป็นศาลเทพารักษ์สำหรับพระราชวังสนามจันทร์ เป็นที่ประดิษฐานของพระคเณศร์ หรือ พระพิฆเนศวร เทพผู้มีเศียรเป็นช้าง เป็นเทพเจ้าแห่งศิลปะวิทยาการและการประพันธ์ ทั้งยังเป็นผู้ขจัดอุปสรรคทั้งมวลด้วย ๶ทวาลัยคเณศร์ตั้งอยู่ที่สนามหญ้าหน้าพระที่นั่งพิมานปฐม สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้าทรงโปรดปรานศิลปะวิทยาการและการประพันธ์เป็นพิเศษ จึงทรงโปรดเกล้าฯให้สร้าง๶ทวาลัยคเณศร์ไว้ ณ ที่อันเป็นศูนย์กลางของพระราชวังสนามจันทร์ สำหรับบวงสรวงบูชาและเพื่อความเป็นสิริมงคลแห่งพระราชวังสนามจันทร์
  • 9. พระตำหนัก ชาลีมงคลอาสน์         พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ เป็นพระตำหนักที่มีลักษณะคล้ายปราสาทขนาดย่อมลักษณะสถาปัตยกรรมแบบเรเนซองส์ (Renaissance) ของฝรั่งเศสและอาคารแบบฮาล์ฟทิมเบอร์ ( Half Timber) ของอังกฤษ แต่ดัดแปลงให้เหมะสมกับสภาพดินฟ้าอากาศในประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้เป็นที่ประทับในฐานะที่ทรงเป็นผู้บัญชาการเสือป่า เมื่อมีการซ้อมรบเสือป่า ณ พระราชวังสนามจันทร์ และพระองค์โปรดที่จะประทับตลอดช่วงปลายรัชกาล เมื่อเสด็จฯยังพระราชวังสนามจันทร์
  • 10. พระตำหนัก มารีราชรัตบัลลังก์ พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์สร้างขึ้นคู่กับพระตำหนักชาลีฯ โดยฉนวนทางเดินทำเป็นสะพานจากชั้นบนด้านหลังของพระตำหนักชาลีฯ ทั้งหมดนี้เป็นกลุ่มอาคารที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 โปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นด้วยแรงบันดาลพระราชหฤทัยจากบทละครเรื่อง My Friend Jarlet ของ Arnold Golsworthy และ E.B. Norman ซึ่งทรงแปลบทละครเรื่องนี้เป็นภาษาไทยชื่อว่า “ มิตรแท้ ” โดยทรงนำชื่อตัวละครในเรื่องมาเป็นชื่อของพระตำหนัก หลังจากมีการบูรณะพระตำหนักองค์นี้ใหม่ทั้งองค์ จึงได้จัดเป็นพิพิธภัณฑ์พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
  • 11. พระตำหȨกทับขวัญ พระตำหȨกทับขวัญเป็นเรือนไทยที่สมบูรณ์แบบ พระตำหนักองค์นี้เป็นเรือนไม้กระดานตัวเรือนทั้งหลังรวมทั้งพื้นที่นอกชานทำด้วยไม้สักทั้งหลัง ใช้วิธีเข้าไม้ตามแบบฉบับของชาวไทยโบราณ รอบๆบริเวณปลูกไม้ไทยชนิดด่างๆ นับเป็นเรือนที่อยู่ในประเภทเรือนคหบดีและมีส่วนประกอบครบ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นเพื่อรักษาศิลปะบ้านไทยแบบโบราณ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มีพระราชพิธีเฉลิมพระตำหȨกทับขวัญ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ . ศ . 2454 และพระองค์ได้ประทับแรม ณ พระตำหนักนี้ 1 คืน ในสมัยนั้น เมื่อมีการซ้อมรบเสือป่า พระตำหนักองค์นี้ได้ใช้เป็นที่ตั้ง กองบัญชาการเสือป่าราบหนักรักษาพระองค์
  • 12. พระตำหนักทับแก้ว พระตำหนักทับแก้ว เป็นอาคารตึกสองชั้น ในพระราชวังสนามจันทร์ เคยเป็นที่ประทับในฤดูหนาว ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ภายในอาคารมีเตาผิงและหลังคา มีปล่องไฟตามแบบตะวันตก เหนือเตาผิงมีภาพฝีพระหัตถ์ สีถ่าน รูปพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในระหว่างที่มีการซ้อมรบเสือป่า ทับแก้ว เป็นที่ตั้งกองบัญชาการเสือป่ากองเสนาน้อยราบเบารักษาพระองค์ อนึ่งที่ดินบริเวณเบื้องหลังทับแก้วประมาณ 450 ไร่ ได้กลายเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยศิลปากร ปัจจุบันสำนักพระราชวังได้อนุญาตให้สมาคมประวัติศาสตร์ฟุตบอลแห่งประเทศไทย ดำเนินการจัดแสดงเป็น " พิพิธภัณฑ์คณะฟุตบอลแห่งสยาม " เพื่อน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า ในพระราชกรณียกิจด้านกีฬาฟุตบอลของชาติ
  • 13. อนุสาวรีย์ย่าเหล “ ย่าเหล ” เป็นสุนัขพันทาง หางเป็นพวง สีขาวด่างดำ หูตก เกิดในเรือนจำจังหวัดนครปฐม เป็นสุนัขของหลวงชัยอาญา ( โพธิ์ เคหะนันท์ ) ซึ่งเป็นพะทำมะรง ( ผู้ควบคุมนักโทษ ) อยู่ในขณะนั้น ( ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระพุทธเกษตรานุรักษ์ ) เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ได้น้อมเกล้าฯถวายจึงทรงรับมาเลี้ยงและพระราชทานนามว่า “ ย่าเหล ”
  • 14. จากการที่เข้าไปสำรวจข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร พบนักศึกษาได้ใช้พื้นที่พระราชวังสนามจันทร์ในการทำกิจกรรม ต่างๆ ดังนี้ นักศึกษาเข้าไปนั่งพักผ่อน หย่อนใจ นั่งจับกลุ่มพูดคุยกัน
  • 15. จากการที่เข้าไปสำรวจข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ศิลปากร พบนักศึกษา ได้ใช้พื้นที่พระราชวังสนามจันทร์ ในการทำกิจกรรม ต่างๆ ดังนี้ นักศึกษาเข้าไปให้อาหารปลา ให้อาหารเป็ด
  • 16. จากการที่เข้าไปสำรวจข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ศิลปากร พบนักศึกษา ได้ใช้พื้นที่พระราชวังสนามจันทร์ ในการทำกิจกรรม ต่างๆ ดังนี้ นักศึกษาเข้าไปเดินชมความงามของพระราช วังสนามจันทร์
  • 17. จากการที่เข้าไปสำรวจข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ศิลปากร พบนักศึกษา ได้ใช้พื้นที่พระราชวังสนามจันทร์ ในการทำกิจกรรม ต่างๆ ดังนี้ นักศึกษาเข้าไปสักการะ ๶ทวาลัยคเณศร์
  • 18. จากการที่เข้าไปสำรวจข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ศิลปากร พบนักศึกษา ได้ใช้พื้นที่พระราชวังสนามจันทร์ ในการทำกิจกรรม ต่างๆ ดังนี้ นักศึกษาเข้าไปถ่ายรูปพระราชวังสนามจันทร์
  • 19. จากการที่เข้าไปสำรวจข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ศิลปากร พบนักศึกษา ได้ใช้พื้นที่พระราชวังสนามจันทร์ ในการทำกิจกรรม ต่างๆ ดังนี้ นักศึกษา เข้าไปวาดรูป สะเก็ตภาพ พระราชวังสนามจันทร์
  • 20. จากการที่เข้าไปสำรวจข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ศิลปากร พบนักศึกษา ได้ใช้พื้นที่พระราชวังสนามจันทร์ ในการทำกิจกรรม ต่างๆ ดังนี้ ไปวิ่งออกกำลังกาย เล่นบาสเก็ตบอล ฯลฯ ใช้เครื่องออกกำลังกาย เตะฟุตบอล เล่นแบดมินตัน นักศึกษาได้เข้าไปออกกำลังกายในพระราชวังสนามจันทร์
  • 21. ปัญหา และ อุปสรรค รวบรวมสมาชิกในกลุ่มได้ยากเพราะมาจากต่างคณะกัน การทำงาน ประสานงานในกลุ่มมีอุปสรรคเล็กน้อยเพราะเวลาของสมาชิกในกลุ่ม ว่างไม่ตรงกัน จึงเกิดปัญหาในการประสานงาน แต่สามารถแก้ไขได้ โดยการมีกานัดหมายกันก่อน สภาพอากาศที่พระราชวังในตอนกลางวันมีสภาพอากาศที่ร้อนมาก จึงทำให้เกิดอุปสรรคในการเข้าไปค้นคว้าข้อมูลและถ่ายภาพ มีปัญหาเรื่อง Font ในการ Upload ลง ݺߣ share
  • 22. เอกสารอ้างอิง http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C http://www.moohin.com/018/018k005.shtml http://www.rssthai.com/reader.php?r=13215&t=travel ป้ายบอกข้อมูลและสถานที่ในบริเวณพระราชวังสนามจันทร์