ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
E-mail:tangkwa83@hotmail.com
Developer:http//:developer.facebook.com/suppadech
โรคมือ เท้า ปาก
โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง
เสนอ
อาจารย์ธนา ยอดเกิด
โรคมือเท้าปาก(Hand foot mouth syn-
drome)คือ ?
เป็นโรคทมักพบการติดเชื้อในกลุ่มทารกและเด็กเล็ก
แต่บางรายจะมีอาการรุนแรง
ขึ้นอยู่กับชนิดของไวรัสที่มีการติดเชื้อ
โรค HFMD ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุน้อยกว่า 10 ปี
โดยเฉพาะอายุต่ากว่า 5 ปี มีอาการไข้ร่วมกับตุ่มเล็กๆ
เกิดขึ้นที่ผิวหนังบริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า และในปาก
ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง หายได้เอง
ส่วนน้อยอาจมีอาการทางสมองร่วมด้วย
ซึ่งอาจทาให้รุนแรงถึงเสียชีวิตได้ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุ
1-7 ปี ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ coxsackievirusA16 และ
EV71 ผู้ป่วยจะมีไข้ฉับพลันและมีแผลเปื่อยเล็กๆ
ในลาคอบริเวณเพดาน ลิ้นไก่ ทอนซิล
มีอาการเจ็บคอมากร่วมกับมีน้าลายมาก
ยังไม่เคยมีรายงานการเสียชีวิต
อ้างอิง
http://www.wikipedia.org
http://www.siamhealth.net
จัดทาโดย
ด.ช.ศุภเดช คงประเสริฐ เลขที่8 ม.2/2
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัสในกลุ่ม Enteroviruses ที่พบเฉพาะ
ในมนุษย์ซึ่งมีหลายสายพันธุ์ โรคปากเท้าเปื่อย
ส่วนใหญ่เกิดจาการติดเชื้อไวรัสที่ชื่อว่า coxsackie
A16 มักไม่รุนแรง เด็ก
จะหายเป็นปกติภายใน
7-10 วัน ส่วนที่เกิดจาก
Enterovirus 71 อาจเป็น
แบบ เยื่อหุ้มสมอง
อักเสบ Aseptic menin-
gitis ที่ไม่รุนแรง หรือมีอาการคล้ายโปลิโอ ส่วนที่
รุนแรงมากจนอาจเสียชีวิตจะเป็นแบบสมอง
อักเสบ encephalitis ซึ่งมีอาการอักเสบส่วนก้าน
สมองทาให้หมดสติ หากเกิดกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
จะทาให้เกิดหัวใจวาย ความดันโลหิตจะต่า มีอาการ
หัวใจวาย และ/หรือมีภาวะน้าท่วมปอด
อาการ
ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่จะไม่แสดงอาการป่วย
หรืออาจพบอาการเพียงเล็กน้อย เช่น มีไข้
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ ปวดเมื่อย เป็นต้น
จะปรากฏอาการดังกล่าว 3-5 วัน แล้วหายได้เอง
สาหรับผู้ที่มีอาการมักจะเริ่มด้วยไข้เบื่ออาหาร
ครั่นเนื้อครั่นตัวเจ็บคอ หลังจากไข้1-2
วันจะเห็นแผลแดงเล็กๆที่ปากโดยเป็นตุ่มน้าในร
ะยะแรกและแตกเป็นแผล
ตาแหน่งของแผลมักจะอยู่ที่เพดานปาก
หลังจากนั้นอีก1-2 วันจะเกิดผื่นที่มือและเท้า
แต่ก็อาจจะเกิดที่แขน และก้นได้
เด็กที่เจ็บปากมากอาจจะขาดน้า
 ไข้ มีอาการไข้สูงอาจเกิน 39 องศาเซลเซียส 2 วันแล้วจะมีไข้ต่าๆ
ประมาณ 37.5 - 38.5 องศาเซลเซียส อีก 3-5 วัน
 เจ็บคอเจ็บในปากกลืนน้าลายไม่ได้ไม่กินอาหาร
 พบตุ่มแผลในปาก ส่วนใหญ่พบที่เพดานอ่อนลิ้น กระพุ้งแก้ม
อาจมี 1 แผล หรือ 2-3 แผล ขนาด 4-8 มิลลิลิตร
เป็นสาเหตุให้เด็กไม่ดูดนม ไม่กินอาหารเพราะเจ็บ
ผื่นหรือแผลในปากจะเกิดหลังจากไข้1-2 วัน
 ปวดศีรษะ
 พบตุ่มพอง (vesicles) สีขาวขุ่นบนฐานรอบสีแดง ขนาด 3-7
มิลลิเมตร บริเวณด้านข้างของนิ้วมือ นิ้วเท้า บางครั้งพบที่ฝ่ามือ
ฝ่าเท้า ส้นเท้า
ส่วนมากมีจานวน 5-6 ตุ่ม
เวลากดจะเจ็บ
ส่วนใหญ่ไม่ค่อยแตกเป็นแผล
จะหายไปได้เองในเวลาประมาณ 1 สัปดาห์
 เบื่ออาหาร
 เด็กจะหงุดหงิด
 ในเด็กโตจะบ่นปวดศีรษะ ปวดหลัง อาจมีอาเจียน เจ็บคอ
น้าลายไหล
จากนั้นจะพบตุ่มพองใส ขนาด 1-
2 มิลลิเมตร 2
ข้างของบริเวณเหนือต่อมทอนซิล
(anteriar fauces)
ซึ่งอาจแตกเป็นแผล
หลังจากระยะ 2-3 วันแรก แผลจะใหญ่ขึ้นเป็น 3-4 มิลลิเมตร
จะเห็นเป็นสีขาวเหลืองอยู่บนฐานสีแดงโดยรอบ
ทาให้มีอาการเจ็บคอหรือกลืนลาบากเวลาดูดนมหรือกินอาหาร
เด็กจะมีอาการน้าลายไหล ส่วนใหญ่จะหายได้เองภายใน 3-6 วัน
ยังไม่เคยมีรายงานการเสียชีวิต
ระยะฝักตัว
หมายถึงระยะตั้งแต่ได้รับเชื้อจนกระทั่งเกิดอากา
รใช้เวลาประมาณ 4-6 วัน
การติดต่อ
โรคนี้มักจะติดต่อในสัปดาห์แรก เชื้อนี้ติดต่อจาก
 จากมือที่เปื้อนน้ามูก น้าลาย
และอุจจาระของผู้ป่วยหรือผู้ติดเชื้อ
(ซึ่งอาจจะยังไม่มีอาการ)
หรือน้าในตุ่มพองหรือแผลของผู้ป่วย
 และโดยการหายใจเอาเชื้อที่แพร่กระจายจากล
ะอองฝอยของการไอ จาม
ของผู้ป่วยหรือผู้ติดเชื้อ ( droplet spread)
การรักษา
ปกติแล้วโรคมือ เท้า ปาก
สามารถหายได้เองภายใน 7-10 วัน
หากไม่มีภาวะแทรกซ้อนโรคนี้ไม่มียารักษาโดยเ
ฉพาะ เพราะเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส
จึงต้องใช้ภูมิคุ้มกันของตัวเองต่อสู้กับเชื้อโรค
ทั้งนี้ แพทย์จะให้ยารักษาตามอาการ
วิธีการป้ องกัน
ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกันโรคมือ เท้า ปาก
แต่โดยปกติป้องกันโรคมือ เท้า ปาก
ได้โดยการรักษาสุขอนามัยที่ดีไม่ว่าจะเป็นการรัก
ษาความสะอาด ตัดเล็บให้สั้น
หมั่นล้างมือด้วยน้าสบู่บ่อย ๆ

More Related Content

แผ่นพับ โรคมือเท้าปาก

  • 1. E-mail:tangkwa83@hotmail.com Developer:http//:developer.facebook.com/suppadech โรคมือ เท้า ปาก โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง เสนอ อาจารย์ธนา ยอดเกิด โรคมือเท้าปาก(Hand foot mouth syn- drome)คือ ? เป็นโรคทมักพบการติดเชื้อในกลุ่มทารกและเด็กเล็ก แต่บางรายจะมีอาการรุนแรง ขึ้นอยู่กับชนิดของไวรัสที่มีการติดเชื้อ โรค HFMD ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุน้อยกว่า 10 ปี โดยเฉพาะอายุต่ากว่า 5 ปี มีอาการไข้ร่วมกับตุ่มเล็กๆ เกิดขึ้นที่ผิวหนังบริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า และในปาก ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง หายได้เอง ส่วนน้อยอาจมีอาการทางสมองร่วมด้วย ซึ่งอาจทาให้รุนแรงถึงเสียชีวิตได้ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุ 1-7 ปี ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ coxsackievirusA16 และ EV71 ผู้ป่วยจะมีไข้ฉับพลันและมีแผลเปื่อยเล็กๆ ในลาคอบริเวณเพดาน ลิ้นไก่ ทอนซิล มีอาการเจ็บคอมากร่วมกับมีน้าลายมาก ยังไม่เคยมีรายงานการเสียชีวิต อ้างอิง http://www.wikipedia.org http://www.siamhealth.net จัดทาโดย ด.ช.ศุภเดช คงประเสริฐ เลขที่8 ม.2/2
  • 2. สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัสในกลุ่ม Enteroviruses ที่พบเฉพาะ ในมนุษย์ซึ่งมีหลายสายพันธุ์ โรคปากเท้าเปื่อย ส่วนใหญ่เกิดจาการติดเชื้อไวรัสที่ชื่อว่า coxsackie A16 มักไม่รุนแรง เด็ก จะหายเป็นปกติภายใน 7-10 วัน ส่วนที่เกิดจาก Enterovirus 71 อาจเป็น แบบ เยื่อหุ้มสมอง อักเสบ Aseptic menin- gitis ที่ไม่รุนแรง หรือมีอาการคล้ายโปลิโอ ส่วนที่ รุนแรงมากจนอาจเสียชีวิตจะเป็นแบบสมอง อักเสบ encephalitis ซึ่งมีอาการอักเสบส่วนก้าน สมองทาให้หมดสติ หากเกิดกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ จะทาให้เกิดหัวใจวาย ความดันโลหิตจะต่า มีอาการ หัวใจวาย และ/หรือมีภาวะน้าท่วมปอด อาการ ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่จะไม่แสดงอาการป่วย หรืออาจพบอาการเพียงเล็กน้อย เช่น มีไข้ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ ปวดเมื่อย เป็นต้น จะปรากฏอาการดังกล่าว 3-5 วัน แล้วหายได้เอง สาหรับผู้ที่มีอาการมักจะเริ่มด้วยไข้เบื่ออาหาร ครั่นเนื้อครั่นตัวเจ็บคอ หลังจากไข้1-2 วันจะเห็นแผลแดงเล็กๆที่ปากโดยเป็นตุ่มน้าในร ะยะแรกและแตกเป็นแผล ตาแหน่งของแผลมักจะอยู่ที่เพดานปาก หลังจากนั้นอีก1-2 วันจะเกิดผื่นที่มือและเท้า แต่ก็อาจจะเกิดที่แขน และก้นได้ เด็กที่เจ็บปากมากอาจจะขาดน้า  ไข้ มีอาการไข้สูงอาจเกิน 39 องศาเซลเซียส 2 วันแล้วจะมีไข้ต่าๆ ประมาณ 37.5 - 38.5 องศาเซลเซียส อีก 3-5 วัน  เจ็บคอเจ็บในปากกลืนน้าลายไม่ได้ไม่กินอาหาร  พบตุ่มแผลในปาก ส่วนใหญ่พบที่เพดานอ่อนลิ้น กระพุ้งแก้ม อาจมี 1 แผล หรือ 2-3 แผล ขนาด 4-8 มิลลิลิตร เป็นสาเหตุให้เด็กไม่ดูดนม ไม่กินอาหารเพราะเจ็บ ผื่นหรือแผลในปากจะเกิดหลังจากไข้1-2 วัน  ปวดศีรษะ  พบตุ่มพอง (vesicles) สีขาวขุ่นบนฐานรอบสีแดง ขนาด 3-7 มิลลิเมตร บริเวณด้านข้างของนิ้วมือ นิ้วเท้า บางครั้งพบที่ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ส้นเท้า ส่วนมากมีจานวน 5-6 ตุ่ม เวลากดจะเจ็บ ส่วนใหญ่ไม่ค่อยแตกเป็นแผล จะหายไปได้เองในเวลาประมาณ 1 สัปดาห์  เบื่ออาหาร  เด็กจะหงุดหงิด  ในเด็กโตจะบ่นปวดศีรษะ ปวดหลัง อาจมีอาเจียน เจ็บคอ น้าลายไหล จากนั้นจะพบตุ่มพองใส ขนาด 1- 2 มิลลิเมตร 2 ข้างของบริเวณเหนือต่อมทอนซิล (anteriar fauces) ซึ่งอาจแตกเป็นแผล หลังจากระยะ 2-3 วันแรก แผลจะใหญ่ขึ้นเป็น 3-4 มิลลิเมตร จะเห็นเป็นสีขาวเหลืองอยู่บนฐานสีแดงโดยรอบ ทาให้มีอาการเจ็บคอหรือกลืนลาบากเวลาดูดนมหรือกินอาหาร เด็กจะมีอาการน้าลายไหล ส่วนใหญ่จะหายได้เองภายใน 3-6 วัน ยังไม่เคยมีรายงานการเสียชีวิต ระยะฝักตัว หมายถึงระยะตั้งแต่ได้รับเชื้อจนกระทั่งเกิดอากา รใช้เวลาประมาณ 4-6 วัน การติดต่อ โรคนี้มักจะติดต่อในสัปดาห์แรก เชื้อนี้ติดต่อจาก  จากมือที่เปื้อนน้ามูก น้าลาย และอุจจาระของผู้ป่วยหรือผู้ติดเชื้อ (ซึ่งอาจจะยังไม่มีอาการ) หรือน้าในตุ่มพองหรือแผลของผู้ป่วย  และโดยการหายใจเอาเชื้อที่แพร่กระจายจากล ะอองฝอยของการไอ จาม ของผู้ป่วยหรือผู้ติดเชื้อ ( droplet spread) การรักษา ปกติแล้วโรคมือ เท้า ปาก สามารถหายได้เองภายใน 7-10 วัน หากไม่มีภาวะแทรกซ้อนโรคนี้ไม่มียารักษาโดยเ ฉพาะ เพราะเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส จึงต้องใช้ภูมิคุ้มกันของตัวเองต่อสู้กับเชื้อโรค ทั้งนี้ แพทย์จะให้ยารักษาตามอาการ วิธีการป้ องกัน ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกันโรคมือ เท้า ปาก แต่โดยปกติป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ได้โดยการรักษาสุขอนามัยที่ดีไม่ว่าจะเป็นการรัก ษาความสะอาด ตัดเล็บให้สั้น หมั่นล้างมือด้วยน้าสบู่บ่อย ๆ