ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ทฤษฎีการ๶รียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
(Behaviorism learning theory)
• ทฤษฎีการ๶รียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์จะได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า
(Stimulus) และตอบสนอง (Response) ต่อสิ่งเร้านั้น ทาให้ผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและ
เมื่อมีแรงขับ (Drive) หรือความต้องการของผู้เรียนที่มีต่อบางสิ่งบางอย่างที่จูงใจ (Motivate) ให้
หาหนทางตอบสนองพร้อมได้รับการเสริมแรง (Reinforcement) คือ รางวัล คาชม ก็ยิ่งทาให้
ผู้เรียนดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปเรื่อยๆ จนบรรลุวัตถุประสงค์ที่
กาหนดไว้
อิวาน เพโทรวิช พาฟลอฟ
( Ivan Petrovich Pavlov )
เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซียที่มีชื่อเสียง ซึ่งมี
ชีวิตอยู่ระหว่าง ปี ค.ศ. 1849 – 1936 และถึง
แก่กรรมเมื่ออายุประมาณ 87 ปี ได้ขื่อว่าเป็นผู้ตั้ง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดค์
(Edward Lee Thorndike)
เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เกิดวันที่ 31 สิงหาคม ค.ศ.
1814 ที่เมืองวิลเลี่ยมเบอรี่ (Williambury) รัฐแมซซาชู
เสท (Massachusetts) และสิ้นชีวิตวันที่ 9 สิงหาคม
ค.ศ. 1949 ผู้ริเริ่มทฤษฎีความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่ง
เร้ากับการตอบสนอง
เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน มีช่วงชีวิตอยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1878 –
1958 รวมอายุได้ 90 ปี วัตสันได้นาเอาทฤษฎีของพาฟลอฟมาเป็น
หลักสาคัญในการอธิบายเรื่องการเรียน ผลงานของวัตสันได้รับความนิยม
แพร่หลายจนได้รับการยกย่องว่าเป็น “บิดาของจิตวิทยาพฤติกรรมนิยม”
คลาร์ก เลโอนาร์ด ฮัลล์
(Clark Leonard Hull)
มีความเชื่อว่าถ้าร่างกายเมื่อยล้า การเรียนรู้จะลดลง การตอบสนองต่อการ
เรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีที่สุดเมื่อได้รับแรงเสริมในเวลาใกล้บรรลุเป้ าหมาย
หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้จึงมักคานึงถึงความพร้อม
ความสามารถและเวลาทีผู้เรียนจะเรียนได้ดีที่สุด การจัดการเรียนการสอน
ควรให้ทางเลือกที่หลากหลายเพื่อตอบสนองระดับความสามารถของ
ผู้เรียน
เอ็ดวิน อาร์ กัทธรี
(Edwin R. Guthrie)
มีช่วงชีวิตอยู่ในระหว่างปี ค.ศ. 1886 – 1959 รวมอายุได้
73 ปี เป็นศาสตราจารย์ทางจิตวิทยาแห่งมหาวิทยาลัยวอชิงตัน
สหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลสาคัญบุคคลหนึ่งที่ทาให้วงการทฤษฎี
การเรียนรู้ก้าวหน้าไปได้ไกล จุดเริ่มต้นของทฤษฎีการ๶รียนรู้ของ
เขามีรากฐานมาจาก “ทฤษฎีการ๶รียนรู้ของวัตสัน”
เบอร์รัส เฟรเดอริก สกินเนอร์
(Burrhus Frederic Skinner)
ผู้นาของทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม ได้ศึกษาทดลอง
กับสัตว์เกี่ยวกับพฤติกรรมที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
(Stimulus-response: S-R theory)
• 1.การสอนแบบบรรยาย หรือการสาธิต/แสดงให้ดูเป็นตัวอย่าง
• 2.การให้ทาแบบฝึกหัด การฝึกปฏิบัติ หรือการทาซ้าๆ
• 3.การเล่นเกมต่างๆ
• ข้อเด่น
• 1.ผู้เรียนสามารถระลึกถึงจดจาความรู้ ข้อเท็จจริงต่างๆ หรือตอบสนองได้อย่างอัตโนมัติ
• 2.ผู้เรียนได้รับความรู้จากการเสริมแรงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการ
• 3.เกิดผลสาเร็จและความรวดเร็วในการเรียนรู้ภายในช่วงเวลาอันสั้น
• ข้อจากัด
• ทฤษฎีการ๶รียนรู้นี้ไม่มุ่งเน้นศึกษากลไกการคิดในจิตใจและปัญญาเพราะถือว่าเป็นสิ่งที่สังเกตเห้นไม่ได้
• จากทฤษฎีการ๶รียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมกับการเรียนการสอน สามารถนามาปรับใช้ในการสอนภาษาไทย
ในเนื้อหาของบทกลอนการนาเสนอหน้าชั้นเรียน เช่น ครูอ่านบทกลอนหรือเปิดเทปบันทึกเสียงให้นักเรียนฟัง
จากนั้นให้นักเรียนวิเคราะห์เนื้อหาบทกลอนแล้วตีความออกมาให้ครูและเพื่อนฟัง จากนั้นครูก็จะ
ประเมินผลโดยการให้คะแนน
ทฤษฎีการ๶รียนรู้
กลุ่มพุทธินิยม
• ขั้นที่1 Enactive representation(แรกเกิด – 2 ขวบ ) ในวัยนี้ เด็กจะมีการพัฒนาการทางสติปัญญา โดยใช้การกระทาเป็น
การเรียนรู้ หรือเรียกว่า Enactive mode เด็กจะใช้การสัมผัส เช่น จับต้องด้วยมือ ผลัก ดึง สิ่งที่สาคัญเด็กจะต้องลงมือ
กระโดดด้วยตนเอง เช่น การเลียนแบบ หรือการลงมือกระทากับวัตถุสิ่งของ ต่างกับผู้ใหญ่ ที่จะใช้ทักษะที่ซับซ้อน เช่น
ขี่จักรยาน ว่ายน้า เป็นต้น
• ขั้นที่2 Iconic representation ในพัฒนาทางขั้นนี้ จะเป็นการใช้ความคิด เด็กสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ต่างๆ ที่เกิดจาก
การมองเห็น การสัมผัส โดยการนึกมโนภาพ การสร้างจินตนาการ พัฒนาการนี้จะเพิ่มขึ้นตามอายุของเด็ก ยิ่งโตขึ้นก็ยิ่ง
สร้างจินตนาการได้มากขึ้น การเรียนรู้ในขั้นนี้เรียกว่าIconic mode เด็กจะสามารถเรียนรู้โดยการใช้ภาพแทนการสัมผัส
ของจริง บรูเนอร์ได้เสนอแนะ ให้นาโสตทัศนวัสดุมาใช้ในการสอน เช่น บัตรคา ภาพนิ่ง เพื่อที่จะช่วยเสริมสร้าง
จินตนาการให้กับเด็ก
• ขั้นที่3 Symbolic representation ในพัฒนาการทางขั้นนี้ บรูเนอร์ถือว่าเป็นการพัฒนาการขั้นสูงสุดของความรู้ความเข้าใจ
เช่น การคิดเชิงเหตุผล หรือการแก้ปัญหา วิธีการเรียนรู้ขั้นนี้เรียกว่า Symbolic mode ซึ่งผู้เรียนจะใช้ในการเรียนได้เมื่อมี
ความเข้าใจในสิ่งที่เป็นนามธรรม
เจอร์โรม เซเมอร์ บรูเนอร์
( Jerome Seymour Bruner )
• 1. การโต้วาที การอภิปรายและการให้เหตุผล
• 2. การคิดแก้ปัญหาและการเรียนโดยการใช้โครงงานเป็นหลัก
• 3. การเปรียบเทียบ (อุปมา) ถ้อยคา หรือสานวนอุปมาอุปไมย
• 4. การจาแนกแยกแยะ หรือการคิดวิเคราะห์ – สังเคราะห์
• 5. การให้เขียนสานวนหรือคาประพันธ์สั้นๆ
• ข้อเด่น
1.ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ในการค้นคว้าทดลองแก้ปัญหา และตัดสินใจจากสถานการณ์และ
สภาพแวดล้อมที่จัดให้
2.ผู้สอนจัดสภาพแวดล้อมที่กระตุ้นความสนใจให้ผู้เรียน เป็นแรงจูงใจให้อยากสารวจจัดกิจกรรมที่ท้าทาย
ให้อยากทดลองจากง่ายไปยาก
3.แหล่งการเรียนรู้จะช่วยให้ผู้เรียนเชื่อมโยงความรู้เดิมกับเนื้อหาสาระ
• ข้อจากัด
- ผู้เรียนมีโอกาสน้อยที่จะได้ฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์และการสรุปผลเป็นความรู้ด้วยตนเอง
• เน้นกระบวนการทางด้านการคิด ยกตัวอย่างเช่น โครงงานวิชาการ ภาษาไทย ผู้สอนนั้นจะ
กาหนดเรื่องมาให้ แล้วให้ผู้เรียนนั้นไปศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง แต่การศึกษาค้นคว้านั้นต้อง
อยู่ในขอบเขตของผู้สอนอีกด้วย
ทฤษฎีการ๶รียนรู้กลุ่มสร้างสรรค์นิยม
(Constructivist Learning Theory)
• เป็นปรัชญาการศึกษาที่ตั้งอยู่บนฐานความเชื่อที่ว่าผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง
ซึ่งความรู้นี้จะฝังติดอยู่กับคนสร้าง ดังนั้นความรู้ของแต่ละคนเป็นความรู้เฉพาะตัวเป็นสิ่งที่
ตนสร้างขึ้นเองเท่านั้น โดยนักเรียนจะเป็นผู้กาหนดหรือมีส่วนร่วมในการกาหนดสิ่งที่จะ
เรียนและวิธีการเรียนของตนเอง และเป็นผู้ตัดสินว่าตนเองจะได้เรียนรู้อะไร เรียนรู้อย่างไร
และพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างไร สามารถนาสิ่งที่เรียนรู้ไปใช้ในบริบทอื่นได้อย่าง
เหมาะสม เรียนรู้จากการปฏิบัติมีอิสระและเรียนรู้บรรยากาศการเรียนที่มีการช่วยเหลือซึ่งกัน
และกัน ภายใต้การอานวยความสะดวกของครู
เลฟ เซมยอนโนวิช วิก๊อตสกี
( Lev Semyonovich Vygotsky )
จอห์น ดิวอี้
( John Dewey )
ฌอง เพียเจต์
( Jean Piaget )
• 1.กรณีศึกษา (Case studies) หรือการแก้ปัญหาเพื่อการเรียนรู้
• 2.การนาเสนอผลงาน/ชิ้นงานให้ปรากฏแก่สายตาหลายด้านหลายมิติ หรือการจัดทาสื่อแนะ
แนวทางให้คาแนะนา
• 3.การกากับดูแลหรือการฝึกงาน
• 4.การเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative learning)
• 5.การเรียนรู้ด้วยการสืบค้น(Discovery learning)
• 6.การเรียนรู้เชิงสถานการณ์ (Situated learning)
• ข้อเด่น
1.การเรียนการสอนเกิดขึ้นในกระบวนการที่ได้มีการปฏิสัมพันธ์ต่อกันระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน
2.ผู้เรียนเลือกเรียนรู้ด้วยวิธีการและความถนัดของตน
3.ผุ้สอนให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ เสนอแนะทางเลือกที่หลากหลายให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ และตัดสินใจจาก
ข้อมูลที่แสวงหามาได้
4.มีเวลาเพียงพอที่จะสามารถสร้างผลงาน/ชิ้นงาน/การปฏิบัติการ สาหรับการสืบค้นและประมวลผลองค์
ความรู้
• ข้อจากัด
- ทฤษฎีนี้อาจเกิดความขัดแย้งทางปัญญาของผู้เรียนหรือเกิดภาวะไม่สมดุล
• เน้นการสอนจริง เน้นการลงมือปฏิบัติ และในการสอนนี้ผู้สอนต้องมีประสบการณ์ขั้นสูง ยกตัวอย่างเช่น
นาฎศิลป์ การราไทยมาให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติตามหลักการสอนที่ผู้สอนกาหนดขึ้น เหมือนให้ผู้เรียนได้รับ
ประสบการณ์โดยตรง
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
• นายพิทยา พูลทวี 56115200037
• นางสาววรีย์ลักษณ์ วีระพัสดุ 56115200054
• นางสาววรรณวิภา ยิ้มเจริญ 56115200061
• นางสาวนาถยา สุดครุฑ 56115200062

More Related Content

ทฤษฎีการ๶รียนรู้