ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ENVIRONMENT TECHNOLOGY HUMAN & SOCIETY CONSUMPTION PATTERN ECONOMIC INTEGRATION การเปลี่ยนแปลงของบริบทการพัฒนา ต่อทิศทางพัฒนาประเทศ
5   บริบทของการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยี สังคม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม รูปแบบการบริโภค ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจการเงินโลก
การเปลี่ยนแปลงที่  1  :  บริบทด้านการรวมตัวของกลุ่มเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงในตลาดการเงินของโลก การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระดับทวิภาคี ภูมิภาคและพหุภาคี มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น รูปแบบของระบบการค้าของโลก   (World   trading system)  มีความเข้มข้นมากขึ้น ประเทศต่างๆ มีข้อตกลงและใช้กฎเกณฑ์ที่แตกต่างกันไปตามกลุ่มคู่ค้า ภายใต้ข้อตกลงที่แตกต่างกันไป  ( Spaghetti bowl effect) ต้องอาศัยกลไกการปรับตัวและการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจมหภาคและการปรับตัวในระดับกิจการของภาคธุรกิจเอกชนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน บทบาทเศรษฐกิจของเอเชียเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะ ประเทศจีนและอินเดีย การทำความตกลงการค้าทวิภาคีและภูมิภาคมีจำนวนมากขึ้นตั้งแต่ทศวรรษ   1990  เป็นต้นมา
การเปลี่ยนแปลงที่  1  :  บริบทด้านการรวมตัวของกลุ่มเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงในตลาดการเงินของโลก ความไม่สมดุลของเศรษฐกิจสหรัฐฯ และผลกระทบต่อค่าเงินสกุลต่างๆ ในโลก การแก้ปัญหาความไม่สมดุลโดยใข้นโยบายการเงินและการค้าที่เข้มงวดมากขึ้น จะเป็นแรงกดดันต่อนโยบายอัตราแลกเปลี่ยน การค้า และการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศอื่นๆ ประเทศในเอเชียจะต้องดำเนินนโยบายแลกเปลี่ยนที่ยืดหยุ่นมากขึ้น โดยปล่อยให้ค่าเงินเป็นไปตามกลไกตลาดและปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ การเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศและความเชื่อมโยงด้านการเงินระหว่างประเทศมีแนวโน้มมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงที่  1  :  บริบทด้านการรวมตัวของกลุ่มเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงในตลาดการเงินของโลก แนวโน้มการลงทุนของ  Hedge fund   ขนาดใหญ่ในภูมิภาคต่างๆ ของโลกที่ขยายตัวรวดเร็ว และเป็นการลงทุนระยะสั้น จะก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อความมั่นคงของระบบการเงิน โดยเฉพาะใน  Emerging markets  ที่มีขนาดเล็กและสภาพคล่องต่ำ พัฒนาตลาดเงิน และเครื่องมือทางการเงินใหม่ๆ เพื่อรองรับและเป็นเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยงให้กับผู้ลงทุน อาทิ  Basel II  และ  COSO2  เป็นต้น Hedge fund  และพฤติกรรมการเก็งกำไรค่าเงินและราคาสินค้าในตลาดล่วงหน้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น   กฎระเบียบ   การกำกับตรวจสอบและธรรมาภิบาลของสถาบันการเงินและธุรกิจที่เข้มงวดมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงที่  2   :  บริบทด้านเทคโนโลยี ยุคของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี อดีต ปัจจุบัน อนาคต เศรษฐกิจการเกษตร   เศรษฐกิจอุตสาหกรรม เศรษฐกิจสารสนเทศ   (IT) เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือผลิตสินค้าเกษตร   S&T  เป็นปัจจัยพื้นฐานของการสะสมทุน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ   ขับเคลื่อนด้วย  3  เทคโนโลยีหลัก เทคโนโลยีชีวภาพ  เทคโนโลยีวัสดุ และนาโนเทคโนโลยี Molecular  Technology
การเปลี่ยนแปลงที่  2   :  บริบทด้านเทคโนโลยี การผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กับชีววิทยาในการรักษาโรค Internet  เป็นปัจจัยพื้นฐานในชีวิต การร่วมมือระหว่างกลุ่มธุรกิจที่มี  core   ต่างกันเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ มีการนำเทคโนโลยีชีวภาพมาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ด้านต่างๆ  เช่น การพัฒนาพันธุ์พืชและสัตว์ การผลิตยารักษาโรค  เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานก้าวไกลขึ้น เช่น เครื่องบินที่เดินทางเร็วขึ้น การผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่
การเปลี่ยนแปลงที่  2   :  บริบทด้านเทคโนโลยี การลงทุนวิจัยและพัฒนาอยู่ในระดับต่ำ มีการซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง มีการใช้เทคโนโลยีระดับต่ำ ในระดับของ  labor intensive,   skilled intensive   คือ ผลิตตามแบบผู้ว่าจ้าง   ( มีเพียงส่วนน้อยที่ใช้เทคโนโลยีแบบเข้มข้น และมีการวิจัยและพัฒนา ) ภาพรวมการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศไทย
การเปลี่ยนแปลงที่  2   :  บริบทด้านเทคโนโลยี ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึง  :  ความอ่อนแอของการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี :  สังคมไทยมีความเหลื่อมล้ำสูง ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในการรับ    ประยุกต์ใช้ และพัฒนาเทคโนโลยี การนำเข้าเทคโนโลยีเพื่อผลิตสินค้า การถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่ชุมชนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน การพัฒนาคุณภาพชีวิต การพัฒนาการเรียนรู้ วิถีการดำรงชีวิต วัฒนธรรมและค่านิยม การพัฒนาสาธารณสุข เทคนิคการประหยัดพลังงานใหม่ ๆ การพัฒนากระบวนการ  recycle ความยุ่งยากในการบำบัดของเสีย ผลกระทบต่อประเทศไทย เศรษฐกิจ สังคม   สิ่งแวดล้อม
การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงที่  3  :  บริบทด้านสังคม แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลก ภาวะความเป็นเมืองเพิ่มขึ้นและมีการย้ายถิ่นสูง การแข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศเป็นไปอย่างรวดเร็วและรุนแรง โลกาภิวัตน์และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ภัยคุกคามต่อความมั่นคงของมนุษย์มีความหลากหลายมากขึ้น
ประชากร การเปลี่ยนแปลงที่  3 :  บริบทด้านสังคม แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของไทย ประชากรวัยทำงาน  (15-59   ปี )   จะมีสัดส่วนสูงสุด  67.1 %   ในปี  2552   แล้วจะลดลง ประชากรวัยสูงอายุและประชากรวัยเด็ก จะมีสัดส่วน  11.7   และ  21.25   ในปี  2553   คนไทยมีอายุยืนยาวมากขึ้น และมีบุตรน้อยลง ผลกระทบ ถ้าคุณภาพประชากรไม่เพิ่มขึ้น ผลิตภาพการผลิตและการสร้างสรรในทุกด้านจะลดลง ต้องมีการวางแผนดูแลผู้สูงอายุด้านสุขภาพและเงินออมหลังเกษียณที่ไม่เป็นภาระต่อการคลังของภาครัฐ
สุขภาพ การเปลี่ยนแปลงที่  3 :  บริบทด้านสังคม แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของไทย ประชากรผู้สูงอายุที่มีสัดส่วนมากขึ้น มีแนวโน้มเจ็บป่วยและทุพพลภาพซึ่งต้องใช้บริการจากสถานพยาบาลสูงขึ้น ประชากรในวัยแรงงานมีภาระในการดูแลผู้สูงอายุมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อเงินออมและการพัฒนาคุณภาพแรงงาน แนวโน้มปัญหาสุขภาพที่สำคัญ จะเป็นไปตามพฤติกรรมของกลุ่มประชากร เช่น ติดเชื้อ  HIV   ภาวะโภชนาการเกิน อุบัติเหตุในวัยรุ่น / วัยแรงงาน ป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ ผลกระทบ ภาระการดูแลบำบัดรักษาโรคจะสูงขึ้น ถ้าไม่เร่งป้องกันโดยการดูแลสุขภาพและเตรียมความพร้อมแก่ผู้ที่จะเข้าสู่วัยสูงอายุ รวมทั้งพัฒนาคุณภาพการให้บริการสุขภาพและกำลังคนด้านสาธารณสุขให้ได้มาตรฐาน
การศึกษา การเปลี่ยนแปลงที่  3 :  บริบทด้านสังคม แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของไทย แนวโน้มการกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงดีขึ้น แต่จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยของคนไทยยังต่ำ ประมาณร้อยละ  25  ของประชากรในปี  2553   ยังคงมีการศึกษาเพียงระดับประถมศึกษา การผลิตและพัฒนากำลังคนสายอาชีพ โดยเฉพาะในระดับกลางมีแนวโน้มลดลง ในขณะที่ตลาดแรงงานมีความต้องการกำลังแรงงานกึ่งฝีมือและมีฝือมือมากขึ้น ผลกระทบ พื้นฐานการศึกษาของกำลังแรงงานต่ำมีผลต่อผลิตภาพแรงงานและการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ชีวิตความเป็นอยู่ การเปลี่ยนแปลงที่  3 :  บริบทด้านสังคม แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของไทย ความเป็นเมืองมีแนวโน้มสูงขึ้น และเป็นแหล่งรองรับกำลังแรงงานที่จะเข้ามาหางานทำ ภาวะความเครียด และแรงบีบคั้นจากภาวะเศรษฐกิจและสังคมที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตของประชาชนมากขึ้น ผลกระทบ เกิดปัญหาความแออัดภายในเมือง มลพิษทางน้ำและอากาศ ปัญหาจราจร และความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อม ความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินเพิ่มขึ้น ทั้งปัญหาอุบัติเหตุ การประทุษร้ายต่อทรัพย์สิน ร่างกายและเพศ
ค่านิยม จริยธรรม การเปลี่ยนแปลงที่  3 :  บริบทด้านสังคม แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของไทย เกิดความเลื่อนไหลและหลากหลายทางวัฒนธรรมจากภาวะไร้พรมแดน อาทิ ค่านิยมเลียนแบบการบริโภคตามต่างชาติ  โรคทางสังคมแบบใหม่ คือเสพติดอาหาร เครื่องดื่ม สารและสิ่งอำนวยความสะดวกที่เป็นโทษต่อร่างกาย เช่น  Junk food   บุหรี่ เหล้า อินเตอร์เน็ต และมือถือ ผลกระทบ วัฒนธรรมดั้งเดิมที่มีคุณค่าสูญหายไป สร้างภาระต้นทุนทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงที่  4  :  บริบทด้านสิ่งแวดล้อม อุณหภูมิโลกร้อนขึ้น   ความหลากหลายทางชีวภาพถูกทำลาย น้ำขาดแคลน ป่าไม้เสื่อมโทรมลง ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเสื่อมโทรมลง ที่ดินเสื่อมสภาพ
ภาคเกษตรกรรม การเปลี่ยนแปลงที่  4  :  บริบทด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นสำคัญต่อประเทศไทย ภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหาร ทำให้ผลผลิตพืชและสัตว์มีความผันแปรสูง และเขตเกษตรกรรมโลกจะเคลื่อนตัวไปจากเดิม ซึ่งจะกระทบต่อความได้เปรียบของภาคเกษตรไทย การคุ้มครองความ หลากหลายทางชีวภาพ GMO   จะส่งผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพและระบบเศรษฐกิจของประเทศในระยะยาว โอกาสและข้อจำกัดการพัมนาขึ้นอยู่กับความสามารถในการจัดการความปลอดภัยทางชีวภาพ ทรัพย์สินทางปัญญาและ ฐานทรัพยากรพันธุกรรม การสร้างกลไกในการคุ้มครองสิทธิขอเกษตรกรเกี่ยวกับทรัพยากรพันธุกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นประเด็นสำคัญในอนาคต
การเปลี่ยนแปลงที่  4  :  บริบทด้านพฤติกรรมผู้บริโภค โครงสร้างอายุประชากร รายได้ ประชากรของประเทศอุตสาหกรรม อาทิ ยุโรป ญี่ปุ่น สหรัฐ เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ทำให้ตลาดของผู้สูงอายุเป็นตลาดที่มีขนาดใหญ่ และมีความต้องการสินค้าและบริการเฉพาะสำหรับผู้สูงอายุมากขึ้น ประชากรในกลุ่มรายได้ปานกลางจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย  ( ประเทศจีน อินเดีย )   ทำให้มีความต้องการสินค้าเพิ่มเติมจากความจำเป็นพื้นฐาน อาทิ  สินค้าที่สร้างความสุขในการบริโภคและความเป็นอยู่   และมีการเดินทางท่องเที่ยว มากขึ้น สัดส่วนประชากรโลก 1950 2000 2050 ประเทศพัฒนา 32.2 19.7 13.7 ประเทศกำลังพัฒนา 59.8 69.3 67.6 ประเทศด้อยพัฒนา 8.0 11.0 18.8
การเปลี่ยนแปลงที่  4  :  บริบทด้านพฤติกรรมผู้บริโภค วิถีชีวิต / ความเป็นอยู่ รสนิยมและค่านิยม การโฆษณา ความเป็นเมืองจะขยายตัวอย่างรวดเร็ว   ดังนั้นที่อยู่อาศัย   สินค้าและบริการที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนเมือง   จะส่งผลต่อการผลิตและบริการ   เช่น   การซึ้อสินค้าในร้านสะดวกซื้อ การซื้อสินค้าผ่านระบบอินเตอร์เน็ต   การซื้ออาหารสำเร็จรูป   ฟาสต์ฟู้ด   เป็นต้น การแพร่หลายของวัฒนธรรมที่หลากหลาย และเกิดกระแสนิยมการบริโภควัฒนธรรมตะวันออกมากขึ้น ผู้บริโภคเริ่มสนใจการดูแลสุขภาพและความงาม   อาทิ การออกกำลังกาย   การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์   และให้ความสำคัญกับสินค้าที่เป็นมิตรกับธรรมชาติและสังคม วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป   หรือการเปิดรับเทคโนโลยีที่ทันสมัย   ส่งผลให้ผู้บริโภครับรู้ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อใหม่ๆ   เพิ่มขึ้น   อาทิ สื่อโฆษณาผ่านอินเตอร์เน็ต โทรศัพท์มือถือ  หรืออาจเป็นการบริโภคหลายสื่อในเวลาเดียวกัน   (multi-tasking)
 New Technology Knowledge Management Existing Resource Endowment People Natural resources Cultural values Indigenous Knowledge “ Thainess” การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคเป็นปัจจัยสำคัญที่ชี้ถึง โอกาสของธุรกิจและความสามารถในการแข่งขันของเศรษฐกิจที่ต้องปรับตัวให้เสนอสินค้าและบริการที่เป็นที่ต้องการของผู้บริโภค ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง   New Demand Repackaging/Branding Real Products & Services Value Creation Balancing Economic & Social investment
www.nesdb.go.th

More Related Content

บริบทการ๶ปลี่ยนแปลงของประ๶ทศ

  • 1. ENVIRONMENT TECHNOLOGY HUMAN & SOCIETY CONSUMPTION PATTERN ECONOMIC INTEGRATION การเปลี่ยนแปลงของบริบทการพัฒนา ต่อทิศทางพัฒนาประเทศ
  • 2. 5 บริบทของการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยี สังคม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม รูปแบบการบริโภค ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจการเงินโลก
  • 3. การเปลี่ยนแปลงที่ 1 : บริบทด้านการรวมตัวของกลุ่มเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงในตลาดการเงินของโลก การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระดับทวิภาคี ภูมิภาคและพหุภาคี มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น รูปแบบของระบบการค้าของโลก (World trading system) มีความเข้มข้นมากขึ้น ประเทศต่างๆ มีข้อตกลงและใช้กฎเกณฑ์ที่แตกต่างกันไปตามกลุ่มคู่ค้า ภายใต้ข้อตกลงที่แตกต่างกันไป ( Spaghetti bowl effect) ต้องอาศัยกลไกการปรับตัวและการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจมหภาคและการปรับตัวในระดับกิจการของภาคธุรกิจเอกชนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน บทบาทเศรษฐกิจของเอเชียเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะ ประเทศจีนและอินเดีย การทำความตกลงการค้าทวิภาคีและภูมิภาคมีจำนวนมากขึ้นตั้งแต่ทศวรรษ 1990 เป็นต้นมา
  • 4. การเปลี่ยนแปลงที่ 1 : บริบทด้านการรวมตัวของกลุ่มเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงในตลาดการเงินของโลก ความไม่สมดุลของเศรษฐกิจสหรัฐฯ และผลกระทบต่อค่าเงินสกุลต่างๆ ในโลก การแก้ปัญหาความไม่สมดุลโดยใข้นโยบายการเงินและการค้าที่เข้มงวดมากขึ้น จะเป็นแรงกดดันต่อนโยบายอัตราแลกเปลี่ยน การค้า และการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศอื่นๆ ประเทศในเอเชียจะต้องดำเนินนโยบายแลกเปลี่ยนที่ยืดหยุ่นมากขึ้น โดยปล่อยให้ค่าเงินเป็นไปตามกลไกตลาดและปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ การเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศและความเชื่อมโยงด้านการเงินระหว่างประเทศมีแนวโน้มมากขึ้น
  • 5. การเปลี่ยนแปลงที่ 1 : บริบทด้านการรวมตัวของกลุ่มเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงในตลาดการเงินของโลก แนวโน้มการลงทุนของ Hedge fund ขนาดใหญ่ในภูมิภาคต่างๆ ของโลกที่ขยายตัวรวดเร็ว และเป็นการลงทุนระยะสั้น จะก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อความมั่นคงของระบบการเงิน โดยเฉพาะใน Emerging markets ที่มีขนาดเล็กและสภาพคล่องต่ำ พัฒนาตลาดเงิน และเครื่องมือทางการเงินใหม่ๆ เพื่อรองรับและเป็นเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยงให้กับผู้ลงทุน อาทิ Basel II และ COSO2 เป็นต้น Hedge fund และพฤติกรรมการเก็งกำไรค่าเงินและราคาสินค้าในตลาดล่วงหน้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น กฎระเบียบ การกำกับตรวจสอบและธรรมาภิบาลของสถาบันการเงินและธุรกิจที่เข้มงวดมากขึ้น
  • 6. การเปลี่ยนแปลงที่ 2 : บริบทด้านเทคโนโลยี ยุคของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี อดีต ปัจจุบัน อนาคต เศรษฐกิจการเกษตร เศรษฐกิจอุตสาหกรรม เศรษฐกิจสารสนเทศ (IT) เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือผลิตสินค้าเกษตร S&T เป็นปัจจัยพื้นฐานของการสะสมทุน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ ขับเคลื่อนด้วย 3 เทคโนโลยีหลัก เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุ และนาโนเทคโนโลยี Molecular Technology
  • 7. การเปลี่ยนแปลงที่ 2 : บริบทด้านเทคโนโลยี การผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กับชีววิทยาในการรักษาโรค Internet เป็นปัจจัยพื้นฐานในชีวิต การร่วมมือระหว่างกลุ่มธุรกิจที่มี core ต่างกันเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ มีการนำเทคโนโลยีชีวภาพมาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ด้านต่างๆ เช่น การพัฒนาพันธุ์พืชและสัตว์ การผลิตยารักษาโรค เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานก้าวไกลขึ้น เช่น เครื่องบินที่เดินทางเร็วขึ้น การผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่
  • 8. การเปลี่ยนแปลงที่ 2 : บริบทด้านเทคโนโลยี การลงทุนวิจัยและพัฒนาอยู่ในระดับต่ำ มีการซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง มีการใช้เทคโนโลยีระดับต่ำ ในระดับของ labor intensive, skilled intensive คือ ผลิตตามแบบผู้ว่าจ้าง ( มีเพียงส่วนน้อยที่ใช้เทคโนโลยีแบบเข้มข้น และมีการวิจัยและพัฒนา ) ภาพรวมการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศไทย
  • 9. การเปลี่ยนแปลงที่ 2 : บริบทด้านเทคโนโลยี ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึง : ความอ่อนแอของการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : สังคมไทยมีความเหลื่อมล้ำสูง ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในการรับ ประยุกต์ใช้ และพัฒนาเทคโนโลยี การนำเข้าเทคโนโลยีเพื่อผลิตสินค้า การถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่ชุมชนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน การพัฒนาคุณภาพชีวิต การพัฒนาการเรียนรู้ วิถีการดำรงชีวิต วัฒนธรรมและค่านิยม การพัฒนาสาธารณสุข เทคนิคการประหยัดพลังงานใหม่ ๆ การพัฒนากระบวนการ recycle ความยุ่งยากในการบำบัดของเสีย ผลกระทบต่อประเทศไทย เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
  • 10. การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงที่ 3 : บริบทด้านสังคม แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลก ภาวะความเป็นเมืองเพิ่มขึ้นและมีการย้ายถิ่นสูง การแข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศเป็นไปอย่างรวดเร็วและรุนแรง โลกาภิวัตน์และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ภัยคุกคามต่อความมั่นคงของมนุษย์มีความหลากหลายมากขึ้น
  • 11. ประชากร การเปลี่ยนแปลงที่ 3 : บริบทด้านสังคม แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของไทย ประชากรวัยทำงาน (15-59 ปี ) จะมีสัดส่วนสูงสุด 67.1 % ในปี 2552 แล้วจะลดลง ประชากรวัยสูงอายุและประชากรวัยเด็ก จะมีสัดส่วน 11.7 และ 21.25 ในปี 2553 คนไทยมีอายุยืนยาวมากขึ้น และมีบุตรน้อยลง ผลกระทบ ถ้าคุณภาพประชากรไม่เพิ่มขึ้น ผลิตภาพการผลิตและการสร้างสรรในทุกด้านจะลดลง ต้องมีการวางแผนดูแลผู้สูงอายุด้านสุขภาพและเงินออมหลังเกษียณที่ไม่เป็นภาระต่อการคลังของภาครัฐ
  • 12. สุขภาพ การเปลี่ยนแปลงที่ 3 : บริบทด้านสังคม แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของไทย ประชากรผู้สูงอายุที่มีสัดส่วนมากขึ้น มีแนวโน้มเจ็บป่วยและทุพพลภาพซึ่งต้องใช้บริการจากสถานพยาบาลสูงขึ้น ประชากรในวัยแรงงานมีภาระในการดูแลผู้สูงอายุมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อเงินออมและการพัฒนาคุณภาพแรงงาน แนวโน้มปัญหาสุขภาพที่สำคัญ จะเป็นไปตามพฤติกรรมของกลุ่มประชากร เช่น ติดเชื้อ HIV ภาวะโภชนาการเกิน อุบัติเหตุในวัยรุ่น / วัยแรงงาน ป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ ผลกระทบ ภาระการดูแลบำบัดรักษาโรคจะสูงขึ้น ถ้าไม่เร่งป้องกันโดยการดูแลสุขภาพและเตรียมความพร้อมแก่ผู้ที่จะเข้าสู่วัยสูงอายุ รวมทั้งพัฒนาคุณภาพการให้บริการสุขภาพและกำลังคนด้านสาธารณสุขให้ได้มาตรฐาน
  • 13. การศึกษา การเปลี่ยนแปลงที่ 3 : บริบทด้านสังคม แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของไทย แนวโน้มการกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงดีขึ้น แต่จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยของคนไทยยังต่ำ ประมาณร้อยละ 25 ของประชากรในปี 2553 ยังคงมีการศึกษาเพียงระดับประถมศึกษา การผลิตและพัฒนากำลังคนสายอาชีพ โดยเฉพาะในระดับกลางมีแนวโน้มลดลง ในขณะที่ตลาดแรงงานมีความต้องการกำลังแรงงานกึ่งฝีมือและมีฝือมือมากขึ้น ผลกระทบ พื้นฐานการศึกษาของกำลังแรงงานต่ำมีผลต่อผลิตภาพแรงงานและการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
  • 14. ชีวิตความเป็นอยู่ การเปลี่ยนแปลงที่ 3 : บริบทด้านสังคม แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของไทย ความเป็นเมืองมีแนวโน้มสูงขึ้น และเป็นแหล่งรองรับกำลังแรงงานที่จะเข้ามาหางานทำ ภาวะความเครียด และแรงบีบคั้นจากภาวะเศรษฐกิจและสังคมที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตของประชาชนมากขึ้น ผลกระทบ เกิดปัญหาความแออัดภายในเมือง มลพิษทางน้ำและอากาศ ปัญหาจราจร และความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อม ความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินเพิ่มขึ้น ทั้งปัญหาอุบัติเหตุ การประทุษร้ายต่อทรัพย์สิน ร่างกายและเพศ
  • 15. ค่านิยม จริยธรรม การเปลี่ยนแปลงที่ 3 : บริบทด้านสังคม แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของไทย เกิดความเลื่อนไหลและหลากหลายทางวัฒนธรรมจากภาวะไร้พรมแดน อาทิ ค่านิยมเลียนแบบการบริโภคตามต่างชาติ โรคทางสังคมแบบใหม่ คือเสพติดอาหาร เครื่องดื่ม สารและสิ่งอำนวยความสะดวกที่เป็นโทษต่อร่างกาย เช่น Junk food บุหรี่ เหล้า อินเตอร์เน็ต และมือถือ ผลกระทบ วัฒนธรรมดั้งเดิมที่มีคุณค่าสูญหายไป สร้างภาระต้นทุนทางสังคม
  • 16. การเปลี่ยนแปลงที่ 4 : บริบทด้านสิ่งแวดล้อม อุณหภูมิโลกร้อนขึ้น ความหลากหลายทางชีวภาพถูกทำลาย น้ำขาดแคลน ป่าไม้เสื่อมโทรมลง ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเสื่อมโทรมลง ที่ดินเสื่อมสภาพ
  • 17. ภาคเกษตรกรรม การเปลี่ยนแปลงที่ 4 : บริบทด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นสำคัญต่อประเทศไทย ภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหาร ทำให้ผลผลิตพืชและสัตว์มีความผันแปรสูง และเขตเกษตรกรรมโลกจะเคลื่อนตัวไปจากเดิม ซึ่งจะกระทบต่อความได้เปรียบของภาคเกษตรไทย การคุ้มครองความ หลากหลายทางชีวภาพ GMO จะส่งผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพและระบบเศรษฐกิจของประเทศในระยะยาว โอกาสและข้อจำกัดการพัมนาขึ้นอยู่กับความสามารถในการจัดการความปลอดภัยทางชีวภาพ ทรัพย์สินทางปัญญาและ ฐานทรัพยากรพันธุกรรม การสร้างกลไกในการคุ้มครองสิทธิขอเกษตรกรเกี่ยวกับทรัพยากรพันธุกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นประเด็นสำคัญในอนาคต
  • 18. การเปลี่ยนแปลงที่ 4 : บริบทด้านพฤติกรรมผู้บริโภค โครงสร้างอายุประชากร รายได้ ประชากรของประเทศอุตสาหกรรม อาทิ ยุโรป ญี่ปุ่น สหรัฐ เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ทำให้ตลาดของผู้สูงอายุเป็นตลาดที่มีขนาดใหญ่ และมีความต้องการสินค้าและบริการเฉพาะสำหรับผู้สูงอายุมากขึ้น ประชากรในกลุ่มรายได้ปานกลางจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย ( ประเทศจีน อินเดีย ) ทำให้มีความต้องการสินค้าเพิ่มเติมจากความจำเป็นพื้นฐาน อาทิ สินค้าที่สร้างความสุขในการบริโภคและความเป็นอยู่ และมีการเดินทางท่องเที่ยว มากขึ้น สัดส่วนประชากรโลก 1950 2000 2050 ประเทศพัฒนา 32.2 19.7 13.7 ประเทศกำลังพัฒนา 59.8 69.3 67.6 ประเทศด้อยพัฒนา 8.0 11.0 18.8
  • 19. การเปลี่ยนแปลงที่ 4 : บริบทด้านพฤติกรรมผู้บริโภค วิถีชีวิต / ความเป็นอยู่ รสนิยมและค่านิยม การโฆษณา ความเป็นเมืองจะขยายตัวอย่างรวดเร็ว ดังนั้นที่อยู่อาศัย สินค้าและบริการที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนเมือง จะส่งผลต่อการผลิตและบริการ เช่น การซึ้อสินค้าในร้านสะดวกซื้อ การซื้อสินค้าผ่านระบบอินเตอร์เน็ต การซื้ออาหารสำเร็จรูป ฟาสต์ฟู้ด เป็นต้น การแพร่หลายของวัฒนธรรมที่หลากหลาย และเกิดกระแสนิยมการบริโภควัฒนธรรมตะวันออกมากขึ้น ผู้บริโภคเริ่มสนใจการดูแลสุขภาพและความงาม อาทิ การออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และให้ความสำคัญกับสินค้าที่เป็นมิตรกับธรรมชาติและสังคม วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป หรือการเปิดรับเทคโนโลยีที่ทันสมัย ส่งผลให้ผู้บริโภครับรู้ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อใหม่ๆ เพิ่มขึ้น อาทิ สื่อโฆษณาผ่านอินเตอร์เน็ต โทรศัพท์มือถือ หรืออาจเป็นการบริโภคหลายสื่อในเวลาเดียวกัน (multi-tasking)
  • 20.  New Technology Knowledge Management Existing Resource Endowment People Natural resources Cultural values Indigenous Knowledge “ Thainess” การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคเป็นปัจจัยสำคัญที่ชี้ถึง โอกาสของธุรกิจและความสามารถในการแข่งขันของเศรษฐกิจที่ต้องปรับตัวให้เสนอสินค้าและบริการที่เป็นที่ต้องการของผู้บริโภค ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง New Demand Repackaging/Branding Real Products & Services Value Creation Balancing Economic & Social investment