ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
กริยานุเคราะห์ คือ คากริยาที่ทาหน้าที่ช่วย
กริยาชนิดอื่นให้แสดงความหมาย ออกมาเป็น กาล
มาลา หรือวาจก ต่างๆ เพราะคากริยาในภาษาไทยมี
รูปคงที่ ไม่เปลี่ยนรูปไปตามกาล มาลา หรือ วาจก
ตัวอย่าง เช่น
ก. ช่วยบอกกาลเช่น
๑. เขา กาลัง ทางาน (ปัจจุบัน)
๒.เขา ได้ ทางาน (อดีต)
๓. เขา จะ ทางาน (อนาคต)
ข. ช่วยบอกมาลาเช่น
๑. เขา คง มาที่นี่ (ศักดิมาลา)
๒. ท่าน จง เชื่อมั่น (อาณัติมาลา)
๓. ชะรอย เขาจะฝันไป (ปริกัลปมาลา)
ค. ช่วยบอกวาจกเช่น
๑. นักโทษ ถูก ผู้คุมจับ (กรรมวาจก)
๒. นักเรียน ถูก ครู ให้ ทางาน (การิตวาจก)
๓.บิดา ให้ บุตรเขียนหนังสือ (กรรตุวาจก)
๕. กริยาสภาวมาลา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
๔. กริยานุเคราะห์
กริยาสภาวมาลา คือ คากริยาที่ทาหน้าที่
คล้ายกับนาม อาจเป็นประธาน เป็นกรรม หรือ
เป็นบทขยายส่วนใดส่วนหนึ่งของประโยคก็ได้
เช่น
๑) นอน มีประโยชน์กว่าอิริยาบถอื่น
(นอน เป็นประธานของกริยา มี)
๒) ฉันชอบ ดู ภาพยนตร์
(ดู เป็นกรรมของกริยา ชอบ)
๓) เขาออมทรัพย์ไว้เพื่อ ซื้อ รองเท้า
(ซื้อ เป็นบทขยายของกริยา ออม)
จะเห็นได้ว่ากริยา นอน, ดู, ซื้อ ทาหน้าที่
ได้อย่างนามจึงเป็น กริยาสภาวมาลา
๑. สกรรมกริยา
คากริยา คือ คาที่แสดงอาการของนามและ
สรรพนาม หรือแสดงการกระทาของประธานแบ่ง
ออกเป็น ๕ ชนิด
๒. อกรรมกริยา ๓. วิกตรรถกริยา
สกรรมกริยา คือ กริยาที่ต้องมีกรรมมารับ
จึงจะให้ความสมบูรณ์ครบถ้วน เช่น
๑) ทหาร ถือ ปืน
๒) คนครัว หุง ข้าว
๓) กสิกร ไถ นา
๔) ชาวป่า ตัด ต้นไม้
๕) พ่อค้า ขาย ของ
จะเห็นได้ว่า คากริยาประโยคทั้ง ๕ นั้น
ถ้าไม่มีคา ปืน ข้าว นา ต้นไม้ ของ มาเป็นกรรมรับ
ข้างหลัง จะไม่ได้ครบสมบูรณ์
อกรรมกริยา คือ กริยาที่มีความหมาย
ครบถ้วนในตัวเองโดยไม่ต้องมีกรรมมารับ เช่น
๑. นักเรียน เดิน ที่ถนน
๒. นก บิน ในอากาศ
๓. เด็ก นั่ง บนเตียง
๔. ครู ยืน ในห้อง
๕. ต้นไม้โค่น ข้างถนน
หมายเหตุ สกรรมกริยา จะต้องมีกรรมมา
รับ จึงจะได้ความสมบูรณ์ ส่วนอกรรมกริยามีความ
สมบูรณ์อยู่ในตัวแล้ว แต่ถ้าต้องการให้มีความ
ชัดเจนยิ่งขึ้นต้องมีคาหรือวลีมาขยาย
วิตรรถกริยา คือ กริยาที่ไม่สาเร็จความหมาย
ในตัวเอง และใช้เป็นกริยาของประธานตามลาพัง
ตัวเองไม่ได้จะต้องมีคานาม คาสรรพนามหรือคา
วิเศษณ์มาขยาย จึงจะได้ความ กริยาพวกนี้ได้แก่คาว่า
เป็น เหมือน เท่า คล้าย คือ เสมือน ดุจ ประดุจ
ประหนึ่ง ราวกับ เพียงดัง เปรียบเหมือน อุปมาเหมือน
ตัวอย่างเช่น
ก. ใช้คานามขยาย ๑. นายแดง เป็น ครู
๒. แมว คล้าย เสือ
๓. ลูก เท่า พ่อ
ข. ใช้คาสรรพนามขยาย ๑. ผู้นั้นแหละ คือ เขาละ
๒. เขา ราวกับ ฉัน
๓. เขา คล้าย ฉัน
ค.ใช้คาวิเศษณ์ขยาย ๑. ทาได้เช่นนี้ เป็น ดีแน่
๒. เขาพูดอะไร เป็น เท็จไปหมด
๓.มาดี เป็น ดี มาร้าย เป็น ร้าย

More Related Content

แผ่นพับ

  • 1. กริยานุเคราะห์ คือ คากริยาที่ทาหน้าที่ช่วย กริยาชนิดอื่นให้แสดงความหมาย ออกมาเป็น กาล มาลา หรือวาจก ต่างๆ เพราะคากริยาในภาษาไทยมี รูปคงที่ ไม่เปลี่ยนรูปไปตามกาล มาลา หรือ วาจก ตัวอย่าง เช่น ก. ช่วยบอกกาลเช่น ๑. เขา กาลัง ทางาน (ปัจจุบัน) ๒.เขา ได้ ทางาน (อดีต) ๓. เขา จะ ทางาน (อนาคต) ข. ช่วยบอกมาลาเช่น ๑. เขา คง มาที่นี่ (ศักดิมาลา) ๒. ท่าน จง เชื่อมั่น (อาณัติมาลา) ๓. ชะรอย เขาจะฝันไป (ปริกัลปมาลา) ค. ช่วยบอกวาจกเช่น ๑. นักโทษ ถูก ผู้คุมจับ (กรรมวาจก) ๒. นักเรียน ถูก ครู ให้ ทางาน (การิตวาจก) ๓.บิดา ให้ บุตรเขียนหนังสือ (กรรตุวาจก) ๕. กริยาสภาวมาลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ๔. กริยานุเคราะห์ กริยาสภาวมาลา คือ คากริยาที่ทาหน้าที่ คล้ายกับนาม อาจเป็นประธาน เป็นกรรม หรือ เป็นบทขยายส่วนใดส่วนหนึ่งของประโยคก็ได้ เช่น ๑) นอน มีประโยชน์กว่าอิริยาบถอื่น (นอน เป็นประธานของกริยา มี) ๒) ฉันชอบ ดู ภาพยนตร์ (ดู เป็นกรรมของกริยา ชอบ) ๓) เขาออมทรัพย์ไว้เพื่อ ซื้อ รองเท้า (ซื้อ เป็นบทขยายของกริยา ออม) จะเห็นได้ว่ากริยา นอน, ดู, ซื้อ ทาหน้าที่ ได้อย่างนามจึงเป็น กริยาสภาวมาลา
  • 2. ๑. สกรรมกริยา คากริยา คือ คาที่แสดงอาการของนามและ สรรพนาม หรือแสดงการกระทาของประธานแบ่ง ออกเป็น ๕ ชนิด ๒. อกรรมกริยา ๓. วิกตรรถกริยา สกรรมกริยา คือ กริยาที่ต้องมีกรรมมารับ จึงจะให้ความสมบูรณ์ครบถ้วน เช่น ๑) ทหาร ถือ ปืน ๒) คนครัว หุง ข้าว ๓) กสิกร ไถ นา ๔) ชาวป่า ตัด ต้นไม้ ๕) พ่อค้า ขาย ของ จะเห็นได้ว่า คากริยาประโยคทั้ง ๕ นั้น ถ้าไม่มีคา ปืน ข้าว นา ต้นไม้ ของ มาเป็นกรรมรับ ข้างหลัง จะไม่ได้ครบสมบูรณ์ อกรรมกริยา คือ กริยาที่มีความหมาย ครบถ้วนในตัวเองโดยไม่ต้องมีกรรมมารับ เช่น ๑. นักเรียน เดิน ที่ถนน ๒. นก บิน ในอากาศ ๓. เด็ก นั่ง บนเตียง ๔. ครู ยืน ในห้อง ๕. ต้นไม้โค่น ข้างถนน หมายเหตุ สกรรมกริยา จะต้องมีกรรมมา รับ จึงจะได้ความสมบูรณ์ ส่วนอกรรมกริยามีความ สมบูรณ์อยู่ในตัวแล้ว แต่ถ้าต้องการให้มีความ ชัดเจนยิ่งขึ้นต้องมีคาหรือวลีมาขยาย วิตรรถกริยา คือ กริยาที่ไม่สาเร็จความหมาย ในตัวเอง และใช้เป็นกริยาของประธานตามลาพัง ตัวเองไม่ได้จะต้องมีคานาม คาสรรพนามหรือคา วิเศษณ์มาขยาย จึงจะได้ความ กริยาพวกนี้ได้แก่คาว่า เป็น เหมือน เท่า คล้าย คือ เสมือน ดุจ ประดุจ ประหนึ่ง ราวกับ เพียงดัง เปรียบเหมือน อุปมาเหมือน ตัวอย่างเช่น ก. ใช้คานามขยาย ๑. นายแดง เป็น ครู ๒. แมว คล้าย เสือ ๓. ลูก เท่า พ่อ ข. ใช้คาสรรพนามขยาย ๑. ผู้นั้นแหละ คือ เขาละ ๒. เขา ราวกับ ฉัน ๓. เขา คล้าย ฉัน ค.ใช้คาวิเศษณ์ขยาย ๑. ทาได้เช่นนี้ เป็น ดีแน่ ๒. เขาพูดอะไร เป็น เท็จไปหมด ๓.มาดี เป็น ดี มาร้าย เป็น ร้าย