ݺߣ
Submit Search
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
•
0 likes
•
1,753 views
A
Aom Chadaporn
Follow
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร นางสาว ชฎาพร สีวอ
Read less
Read more
1 of 2
Download now
Download to read offline
More Related Content
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
1.
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร 4. ใช้เน้นกัน การใช้อวัจนภาษาเน้นบางจุดที่ผู้พูด ต้องการจะเน้นประกอบกับวัจนภาษา
เครื่องมือที่ ช่วยในการเน้นที่สาคัญ ๆ เช่น การบังคับเสียงให้ ดังขึ้นกว่าปกติ การเคลื่อนไหวมือและแขน การ เคลื่อนไหวของศีรษะ เป็นต้น 5. ใช้ขัดแย้งกัน การใช้อวัจนภาษาที่สื่อความหมาย ตรงกันข้ามกับสารในคาพูด เช่น เราได้รับรางวัล มารยาทดีเด่น เพื่อนมากล่าวคายินดีด้วยแต่สีหน้า มิได้ยิ้มแย้มแสดงออกถึงความยินดีนั้นเลย เช่นนี้ แสดงว่าการใช้วัจนภาษาขัดแย้งกับอวัจนภาษา 1. ใช้ซ้ากัน การใช้อวัจนภาษาที่มีความหมาย เช่นเดียวกันกับวัจนภาษาช่วยให้สื่อความหมายได้ ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น เพื่อนชวนเราไปดูภาพยนตร์ เรา ตอบปฏิเสธว่าไม่ไปพร้อมกับส่ายหน้าไปด้วย อาการส่ายหน้าเป็นอวัจนภาษาที่ซ้ากับคาพูดที่ ปฏิเสธออกไปนั่นเอง 2. ใช้แทนกัน การใช้อวัจนภาษาทาหน้าที่แทน คาพูดเช่น เพื่อนถามว่า เธอไปเป็นเพื่อนฉันได้ หรือไม่ ผู้ตอบพยักหน้าโดยไม่พูดอะไร ก็สื่อ ความหมายได้ว่าเป็นการตอบตกลง 3. ใช้เสริมกัน การใช้อวัจนภาษาเพิ่มหรือเสริม น้าหนักให้แก่คาพูดเพื่อแสดงอารมณ์ ความรู้สึก หรือแสดงภาพจากตัวอักษรให้จริงจังมากขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่างอวัจนภาษาและวัจนภาษา ผู้จัดทา นางสาว ชฎาพร สีวอ D 3 เลขที่ 15 รหัส 5681124059 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
2.
ภาษา คือ สัญลักษณ์ที่กาหนดขึ้นเพื่อใช้เป็น เครื่องมือที่สาคัญที่สุดในการสื่อความเข้าใจระหว่างกัน ของคนในสังคม
ช่วยสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน ช่วย สร้างความสัมพันธ์ของคน ในสังคม ถ้าคนในสังคมพูด กันด้วย ถ้อยคาที่ดีจะช่วยให้คนในสังคมอยู่กันอย่างปกติ สุข ถ้าพูดกันด้วยถ้อยคาไม่ดี จะทาให้เกิดความ บาดหมางน้าใจกัน ภาษาจึงมีส่วนช่วยสร้างมนุษย สัมพันธ์ ของคนในสังคม ภาษาเป็นสมบัติของสังคม ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารมี 2 ประเภท คือ 1. วัจนภาษา 2. อวัจนภาษา ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร 1. วัจนภาษา (verbal language) วัจนภาษา หมายถึง ภาษาถ้อยคา ได้แก่ คาพูดหรือตัวอักษรที่กาหนดใช้ร่วมกันในสังคม ซึ่ง รวมทั้งเสียง และลายลักษณ์อักษร ภาษาถ้อยคาเป็น ภาษาที่มนุษย์สร้างขึ้นอย่างมีระบบ มีหลักเกณฑ์ทาง ภาษา หรือไวยากรณ์ซึ่งคนในสังคมต้องเรียนรู้และ ใช้ภาษาในการฟัง พูด อ่าน เขียนและคิด การใช้ วัจนภาษาในการสื่อสารต้องคานึงถึงความชัดเจน ถูกต้องตามหลักภาษา และความเหมาะสมกับ ลักษณะ การสื่อสาร ลักษณะงาน เป้าหมาย สื่อและ ผู้รับสาร วัจนภาษาแบ่งออกเป็น 2 ชนิด 1. ภาษาพูด ภาษาพูดเป็นภาษาที่มนุษย์เปล่งเสียง ออกมาเป็นถ้อยคาเพื่อสื่อสารกับผู้อื่น ทั้งใน เรื่องส่วนตัว สังคม ภาษาพูดจึงสามารถสร้าง ความรัก ความเข้าใจ และช่วยแก้ไขปัญหา 2. ภาษาเขียน ภาษาเขียนเป็นภาษาที่มนุษย์ใช้ อักษรเป็นเครื่องหมายแทนเสียงพูดในการ สื่อสาร ภาษาเขียนเป็นสัญลักษณ์ของการพูด 2. อวัจนภาษา ( non-verbal language) อวัจนภาษา หมายถึง เป็นการสื่อสารโดยไม่ใช้ ถ้อยคา ทั้งที่เป็นภาษาพูดและภาษาเขียน เป็นภาษาที่ มนุษย์ใช้สื่อสารกัน โดยใช้ อากัปกิริยา ท่าทาง น้าเสียง สายตาหรือ ใช้วัตถุ การ 1. การใช้สายตา (เนตรภาษา) การแสดงออก ทางสายตา เช่น การสบตากัน 2. กิริยาท่าทาง (อาการภาษา) เช่น การโบก มือ การยิ้มประกอบ การพูด 3. น้าเสียง (ปริภาษา) เช่น การใช้เสียง เน้นหนักเบา การเว้นจังหวะ 4. สิ่งของหรือวัตถุ (วัตถุภาษา) สิ่งของหรือ วัตถุต่าง ๆ ที่บุคคลเลือกใช้ เช่น ของใช้ 5. เนื้อที่หรือช่องว่าง (เทศภาษา) ช่องว่างของ สถานที่หรือระยะใกล้ไกลที่บุคคลสื่อสาร กัน เช่น ระยะห่างของหญิงชาย พระกับ
Download