ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
คําวิเศษณ์
เป็นคําที่ใช้ขยายคํานาม
สรรพนามกริยาหรือวิเศษณ์เพื่อบอก
เวลา จํานวน หรือลักษณะต่างๆ
คําวิเศษณ์จําแนกได้เป็น ๙ ชนิด
๗. คําวิเศษณ์แสดงคําถาม
คําวิเศษณ์แสดงคําถาม เป็นคําที่ใช้ถาม เช่น
อะไร ใคร ไหน ทําไม แต่คําเหล่านี้จะตาม
หลังคํานาม สรรพนาม หรือกริยา
ตัวอย่าง
- คนไหนเป็นนักเรียนทุน
- คนไข้มีอาการอย่างไร
๘. คําวิเศษณ์แสดงคําขานรับ
๙. คําวิเศษณ์แสดงความปฏิเสธ
คําวิเศษณ์ที่แสดงความปฏิเสธ หรือไม่ยอมรับ
เช่น ไม่ ไม่ใช่ มิ มิใช่ ไม่ได้หามิได้เป็นต้น
ตัวอย่าง
- เขามิได้มาคนเดียว
- ของนี้ไม่ใช่ของฉัน ฉันจึงรับไว้ไม่ได้
คําวิเศษณ์แสดงคําขานรับ
เป็นคําขานรับหรือคําประกอบใช้แสดง
การขานรับ เช่น ค่ะ ครับจ๊ะ จ๋า ฯลฯ
ตัวอย่าง
- คุณครับ รถไฟจะออกแล้ว
- คุณแม่ขา โทรศัพท์ค่ะ
จัดทําโดย
D1 น.ส.อาทิตยา เปรมปรีดิ์
รหัส 5681124015
เลขที่ 4 ครุศาสตร์ ภาษาไทย
ลักษณะวิเศษณ์ คือ คําวิเศษณ์ที่บอก
ลักษณะต่างๆ เช่น บอกชนิด สี ขนาด
สัณฐาน กลิ่น รส บอกความรู้สึก เช่น ดี
ชั่ว ใหญ่ ขาว ร้อน เย็น หอม หวาน กลม
แบน เป็นต้น ตัวอย่าง
- นํ้าร้อนอยู่ในกระติกสีขาว
๑. คําวิเศษณ์บอกลักษณะ
๒. คําวิเศษณ์บอกเวลา
คําวิเศษณ์บอกเวลา เช่น เช้า สาย บ่าย
เย็น อดีต อนาคต เป็นต้น ตัวอย่าง
- พรุ่งนี้เป็นวันเกิดของคุณแม่
- เขามาโรงเรียนสาย
๓. คําวิเศษณ์บอกสถานที่
คําวิเศษณ์บอกสถานที่ เป็นคําขยายแสดงที่
อยู่หรือระยะที่ตั้งอยู่ เช่น เหนือ ใต้ ไกล
ใกล้ เป็นต้น ตัวอย่าง
- เขาอยู่ไกล
- หล่อนอยู่เหนือ
๔. คําวิเศษณ์บอกปริมาณ
คําวิเศษณ์บอกปริมาณ เป็นคําประกอบบอก
จํานวน หรือ
จํานวนนับ เช่น มาก น้อย หนึ่ง สอง ที่ห้า
อันดับสิบ เป็นต้น ตัวอย่าง
- เขากินข้าวหมด
- คนงานกินจุ
๕. คําวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะ
คําวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะ เป็นคําขยายบอก
ความแน่นอน เช่น นี่ นี้ นั่น นั้น โน่น โน้น
เป็นต้น ตัวอย่าง
- ชายคนนั้นเป็นชาวไทย
- เขาสอบตกแน่นอน
๖. คําวิเศษณ์บอกความไม่ชี้เฉพาะ
คําวิเศษณ์บอกความไม่ชี้เฉพาะ
เป็นคําประกอบที่แสดงความไม่แน่นอน
เช่น อื่น อื่นๆ ใด ใดๆ อะไร อะไรๆ
เป็นต้น ตัวอย่าง
- เด็กอะไรซนอย่างนี้
- วิชาอื่นๆ ก็สู้วิชานี้ไม่ได้

More Related Content

แผ่นพับคำวิเศษณ์

  • 1. คําวิเศษณ์ เป็นคําที่ใช้ขยายคํานาม สรรพนามกริยาหรือวิเศษณ์เพื่อบอก เวลา จํานวน หรือลักษณะต่างๆ คําวิเศษณ์จําแนกได้เป็น ๙ ชนิด ๗. คําวิเศษณ์แสดงคําถาม คําวิเศษณ์แสดงคําถาม เป็นคําที่ใช้ถาม เช่น อะไร ใคร ไหน ทําไม แต่คําเหล่านี้จะตาม หลังคํานาม สรรพนาม หรือกริยา ตัวอย่าง - คนไหนเป็นนักเรียนทุน - คนไข้มีอาการอย่างไร ๘. คําวิเศษณ์แสดงคําขานรับ ๙. คําวิเศษณ์แสดงความปฏิเสธ คําวิเศษณ์ที่แสดงความปฏิเสธ หรือไม่ยอมรับ เช่น ไม่ ไม่ใช่ มิ มิใช่ ไม่ได้หามิได้เป็นต้น ตัวอย่าง - เขามิได้มาคนเดียว - ของนี้ไม่ใช่ของฉัน ฉันจึงรับไว้ไม่ได้ คําวิเศษณ์แสดงคําขานรับ เป็นคําขานรับหรือคําประกอบใช้แสดง การขานรับ เช่น ค่ะ ครับจ๊ะ จ๋า ฯลฯ ตัวอย่าง - คุณครับ รถไฟจะออกแล้ว - คุณแม่ขา โทรศัพท์ค่ะ จัดทําโดย D1 น.ส.อาทิตยา เปรมปรีดิ์ รหัส 5681124015 เลขที่ 4 ครุศาสตร์ ภาษาไทย
  • 2. ลักษณะวิเศษณ์ คือ คําวิเศษณ์ที่บอก ลักษณะต่างๆ เช่น บอกชนิด สี ขนาด สัณฐาน กลิ่น รส บอกความรู้สึก เช่น ดี ชั่ว ใหญ่ ขาว ร้อน เย็น หอม หวาน กลม แบน เป็นต้น ตัวอย่าง - นํ้าร้อนอยู่ในกระติกสีขาว ๑. คําวิเศษณ์บอกลักษณะ ๒. คําวิเศษณ์บอกเวลา คําวิเศษณ์บอกเวลา เช่น เช้า สาย บ่าย เย็น อดีต อนาคต เป็นต้น ตัวอย่าง - พรุ่งนี้เป็นวันเกิดของคุณแม่ - เขามาโรงเรียนสาย ๓. คําวิเศษณ์บอกสถานที่ คําวิเศษณ์บอกสถานที่ เป็นคําขยายแสดงที่ อยู่หรือระยะที่ตั้งอยู่ เช่น เหนือ ใต้ ไกล ใกล้ เป็นต้น ตัวอย่าง - เขาอยู่ไกล - หล่อนอยู่เหนือ ๔. คําวิเศษณ์บอกปริมาณ คําวิเศษณ์บอกปริมาณ เป็นคําประกอบบอก จํานวน หรือ จํานวนนับ เช่น มาก น้อย หนึ่ง สอง ที่ห้า อันดับสิบ เป็นต้น ตัวอย่าง - เขากินข้าวหมด - คนงานกินจุ ๕. คําวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะ คําวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะ เป็นคําขยายบอก ความแน่นอน เช่น นี่ นี้ นั่น นั้น โน่น โน้น เป็นต้น ตัวอย่าง - ชายคนนั้นเป็นชาวไทย - เขาสอบตกแน่นอน ๖. คําวิเศษณ์บอกความไม่ชี้เฉพาะ คําวิเศษณ์บอกความไม่ชี้เฉพาะ เป็นคําประกอบที่แสดงความไม่แน่นอน เช่น อื่น อื่นๆ ใด ใดๆ อะไร อะไรๆ เป็นต้น ตัวอย่าง - เด็กอะไรซนอย่างนี้ - วิชาอื่นๆ ก็สู้วิชานี้ไม่ได้