ݺߣ
Submit Search
พริกกะหรี่ยง
•
Download as PPTX, PDF
•
0 likes
•
349 views
T
Toey Sunisa
Follow
นางสาวสุนิสา มหาสุด ม.5/4
Read less
Read more
1 of 21
Download now
Download to read offline
More Related Content
พริกกะหรี่ยง
1.
พริกกะหรี่ยง
3.
พริกกะหรี่ยง มีการปลูกกันมากตามแนวชายแดนไทย-พม่าของ จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่ง ปลูกในเขตพื้นที่ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร
มีการคมนาคมลาบากมากในช่วงของ ฤดูฝน ตรงกับ การปลูกพริกของชาวกะเหรี่ยง และเมื่อผลผลิตพริกสามารถ เก็บเกี่ยว ได้ก็ไม่สามารถนาออกมาจาหน่ายได้ ต้องแปรรูปเป็นพริกแห้ง
5.
ลักษณะเด่นพริกกะหรี่ยง 1. มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อม ทนทานต่อสภาวะอากาศและโรค แมลง 2.
ลาต้นใหญ่ การแตกแขนงดี สามารถให้ผลผลิตติดต่อกันเป็นระยะ เวลานาน 3. เป็นที่นิยมทาเป็นพริกตากแห้งได้ดี คุณภาพผลสด 3 กิโลกรัม ตากแห้ง ได้ 1 -1.3 กิโลกรัม 4. มีความเผ็ดและหอมซึ่งเป็นลักษณะประจาพันธุ์ของพริกกะหรี่ยง 5. โรงงานทาซอสพริกนิยมนาไปปั่นผสมกับพริกหนุ่มเขียวเพื่อเพิ่มความ เผ็ดและความหอม
7.
การเตรียมเมล็ดและต้นกล้าก่อนปลูก 1. เลือกต้นที่มีลาต้นสมบูรณ์แข็งแรง ทนทานต่อโรคและแมลง
สามารถ ปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดล้อม ในท้องถิ่นได้ดี ให้ผลผลิตดก ขนาดใหญ่ เต็มที่และเก็บผลในรุ่นที่ 2-3 2. ผลพริกที่เลือกเก็บนั้น ควรเป็นผลที่เริ่มสุกหรือสุกสีแดงสดปราศจากโรค แมลงทาลาย นาเมล็ดพันธุ์แช่น้าทิ้งไว้ 1 คืน หรือนามาห่อ ในผ้าขาวบาง ซับ ๆ เก็บไว้ประมาณ 2-3 วัน จนมีตุ่มรากสีขาวเล็ก ๆ แล้วนาไปเพาะ
9.
• การเตรียมแปลงเพาะกล้า การเลือกพื้นที่สาหรับเพาะเมล็ดพันธุ์ต้องทาการเตรียมดินให้ละเอียด พร้อมผสมปุ๋ ยคอก
หรือปุ๋ ยหมัก ในอัตรา 2:1 แล้วคลุกเคล้า ให้เข้ากัน แล้วนาเมล็ดพริกโรยเป็นแถวห่างกันประมาณ 3 นิ้ว กลบหน้าดิน ประมาณ 1 ซม. หลังเพาะนาน 7-10 วัน เริ่มงอกหมั่น รดน้า ให้ชุ่มอยู่ เสมออย่าปล่อยให้แปลงแห้งจนกระทั่งต้นกล้าเจริญเติบโตมีใบ ประมาณ 3-4 คู่ หรือต้นกล้ามีอายุประมาณ 30 วัน สามารถนาไปปลูก ในแปลงปลูก
11.
การปลูกและการดูแลรักษา • 1. การปลูกพริกกะหรี่ยงโดยนาเมล็ดพริกที่เก็บเมล็ดจากต้นแล้วนามาตากแดดจนแห้ง สนิทแล้วนาไปตาในครก
หรือกระบอก ไม้ไผ่ ให้เมล็ดแตกออก นาเมล็ดมาหยอดลงหลุมที่ เตรียมไว้ หลุมละประมาณ 5-10 เมล็ด ระยะปลูก 80X80 เซนติเมตร และหากปลูก แซม ข้าวไร่ ระยะปลูกจะห่างตามความต้องการและสภาพพื้นที่เป็นหลัก 2. การปลูกด้วยต้นกล้า ควรมีการรองก้นหลุมด้วยปุ๋ ยหมัก อัตรา 800-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ หรือใช้เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า จานวนต้นกล้า ประมาณ 2,500-3,000 ต้นต่อไร่ ระยะปลูก 80X80 เซนติเมตร ซึ่งสามารถปลูกเป็นพืชแซม กับข้าวไร่ หรือพืชชนิดอื่นๆ 3. การปลูกพริกกะหรี่ยงเพื่อเพิ่มมูลค่าของพริกสด สามารถทาได้โดยเกษตรกรต้องมีพื้นที่ สามารถให้น้าได้ และเป็นพื้นที่ดอนน้า ไม่ท่วมขัง เกษตรกรเริ่มเพาะกล้าพริกตั้งแต่เดือน กันยายน-ตุลาคม หลังปลูกแล้ว 90 วันก็จะเริ่มเก็บผลผลิต ซึ่งจะเป็นช่วงฤดูแล้ง พริกสดจะ เริ่มราคาแพงเนื่องจากชาวกระเหรี่ยงที่ปลูกพริกในป่า ไม่สามารถให้น้าพริกได้ และผลผลิต ก็จะหมดเร็ว ทาให้พริกสด ขาดแคลน เกษตรกรที่ปลูกพริกกะหรี่ยงฝืนฤดู สามารถขายพริก สดได้ถึงราคา 50-80 บาท/กิโลกรัม และสามารถเก็บเกี่ยวตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป
13.
การให้น้าและปุ๋ ย การให้น้าอาศัยน้าฝนธรรมชาติ และช่วงที่เหมาะสมในการปลูกเดือน พฤษภาคม-มิถุนายน
การกาจัดวัชพืชไม่ใช้สารเคมี และไม่นิยมใส่ปุ๋ ยเคมี เนื่องจากจะทาให้พริกกะหรี่ยงที่มีความหอมที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะตัว ลดลง
15.
ศัตรูพืชที่สาคัญและวิธีการป้ องกันกาจัด 1. โรค
โรครากเน่าโคนเน่า และโรคกุ้งแห้ง ป้ องกันโดยคัดเมล็ดพันธุ์ที่ ปราศจากโรค ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า รองก้นหลุมก่อนปลูก 2. แมลง เพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยแป้ ง ทาให้พริกใบหงิกงอ ลักษณะใบ ม้วนผิดปกติ ระบาดในช่วงแห้งแล้ง ป้ องกันกาจัด โดยใช้น้าหมัก สมุนไพร ฉีดพ่นทุก 5-7 วัน หรือเชื้อราบิวเบอร์รี่
17.
การเก็บผลผลิต หลังย้ายปลูกประมาณ 60 วัน
พริกกะหรี่ยงเริ่มทยอยผลผลิตและสามารถ เก็บผลผลิตได้โดยเลือกเก็บเมล็ดที่มีสีแดงสดเพื่อใช้ ในการแปรรูป ผลผลิต พริกสดประมาณ 400-500 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งสามารถนามาทาเป็นพริกแห้ง ได้ประมาณ 80-100 กิโลกรัมๆ ละประมาณ 80-150 บาท รายได้เฉลี่ย ประมาณ 10,000-15,000 บาทต่อไร่
19.
การจาหน่ายพริกกะหรี่ยง 1. จาหน่ายพริกสดราคาขายขึ้นอยู่กับคุณภาพและปริมาณของพริก 2. จาหน่ายเป็นพริกแห้ง
ซึ่งจะได้ราคาที่สูง กว่าพริกชนิดอื่น 3. ตลาดแปรรูปในอุตสาหกรรมการแปรรูป พริกป่น พริกคั่ว พริกดอง ซอส พริก หรือน้าจิ้ม น้าพริก น้าพริกแกง อาหารสาเร็จรูป หรือกึ่งสาเร็จรูป พริก แช่แข็ง
21.
อ้างอิง • http://www.vegetweb.com/%E0%B8%81%E0 %B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A 5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%9E%E0% B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%81 %E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B 8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2% E0%B8%87/
Download