ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
๑. ทาหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น
- ประกอบชอบอ่านหนังสือ
- ตารวจจับผู้ร้าย
๒. ทาหน้าที่เป็นกรรมหรือผู้ถูกกระทา เช่น
- วารีอ่านจดหมาย
- พ่อตีสุนัข
๓. ทาหน้าที่ขยายนาม เพื่อทาให้นามที่ถูกขยายชัดเจน
ขึ้น เช่น
- สมศรีเป็นข้าราชการครู
- นายศักดิ์ทนายความฟ้องนายปัญญาพ่อค้า
๔.ทาหน้าที่เป็นส่วนสมบูรณ์หรือส่วนเติมเต็ม เช่น
- ศรรามเป็นทหาร
- เขาเป็นตารวจแต่น้องสาวเป็นพยาบาล
หน้าที่ของคานาม ๕. ใช้ตามหลังคาบุพบทเพื่อทาหน้าที่บอกสถานที่
หรือขยายกริยาให้มีเนื้อความบอกสถานที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
เช่น
- คุณแม่ของเด็กหญิงสายฝนเป็นครู
- นักเรียนไปโรงเรียน
๖. ใช้บอกเวลาโดยขยายคากริยาหรือคานามอื่น เช่น
- คุณพ่อจะไปเชียงใหม่วันเสาร์
- เขาชอบมาตอนกลางวัน
๗. ใช้เป็นคาเรียกขานได้เช่น
- น้าฝน ช่วยหยิบปากกาให้ครูทีซิ
- ตารวจ ช่วยฉันด้วย
จัดทำโดย
นำงสำวพินทุสร นำสินเพิ่ม
เลขที่ ๑๓ รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๓๗
คานาม คือ คาที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์พืช
สิ่งของ สถานที่ สภาพ อาการ ลักษณะ ทั้งที่เป็น
สิ่งมีชีวิต หรือสิ่งที่ไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรม
และนามธรรม เช่นคาว่า คน ปลา ไก่ ตะกร้า
ประเทศไทย จังหวัดกาฬสินธุ์ การออกกาลังกาย
การศึกษา ความรัก ความดี กอไผ่ กรรมกร ฝูง ตัว
เป็นต้น
คานามแบ่งออกเป็น ๕ ชนิดดังนี้
๑. สามานยนาม หรือเรียกว่า คานามทั่วไป คือ
คานามที่เป็นชื่อทั่วๆ ไป เป็นคาเรียกสิ่งต่างๆ
โดยทั่วไปไม่ชี้เฉพาะเจาะจง เช่น ปลา ผีเสื้อ คน สุนัข
วัด ต้นไม้บ้าน หนังสือ ปากกา เป็นต้น
๒. วิสามานยนาม หรือเรียกว่า คานามเฉพาะ
คือ คานามที่ใช้เรียกชื่อของคน สัตว์หรือสถานที่ เป็น
คาเรียกเจาะจงลงไปว่า เป็นใครหรือเป็นอะไร เช่น
จังหวัดกาญจนบุรี วัดพระแก้ว เดือนมีนาคม เด็กหญิง
ปรางค์ทิพย์วันอังคาร พระอภัยมณี เป็นต้น
๓. สมุหนาม คือ คานามที่ทาหน้าที่แสดง
หมวดหมู่ของคานามทั่วไป หรือคานามเฉพาะ เช่น
ฝูงผึ้ง กอไผ่ บริษัท พวกกรรมกร กองทหาร วงดนตรี
โขลงช้าง คณะครู เป็นต้น
๔. ลักษณะนาม คือ คานามที่บอกลักษณะของ
คานาม เพื่อแสดงรูปลักษณะ ขนาด ปริมาณ ของ
คานามนั้นๆให้ชัดเจน เช่น โต๊ะ ๑ ตัว บ้าน ๑ หลัง
ดินสอ ๒ แท่ง สมุด ๕ เล่ม คาว่า ตัว หลัง แท่ง และเล่ม
เป็นลักษณะนาม
๕. อาการนาม คือ คานามที่เป็นชื่อกริยาอาการ
เป็นสิ่งที่เป็นนามธรรม ไม่มีรูปร่าง มักมีคาว่า “การ”
และ “ความ” นาหน้า เช่น การกิน การศึกษา การอ่าน
การพูด การเดิน ความดี ความรัก ความงาม ความคิด
ความฝัน เป็นต้น
คานาม

More Related Content

แผ่นพับ เรื่องคำนาม

  • 1. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ๑. ทาหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น - ประกอบชอบอ่านหนังสือ - ตารวจจับผู้ร้าย ๒. ทาหน้าที่เป็นกรรมหรือผู้ถูกกระทา เช่น - วารีอ่านจดหมาย - พ่อตีสุนัข ๓. ทาหน้าที่ขยายนาม เพื่อทาให้นามที่ถูกขยายชัดเจน ขึ้น เช่น - สมศรีเป็นข้าราชการครู - นายศักดิ์ทนายความฟ้องนายปัญญาพ่อค้า ๔.ทาหน้าที่เป็นส่วนสมบูรณ์หรือส่วนเติมเต็ม เช่น - ศรรามเป็นทหาร - เขาเป็นตารวจแต่น้องสาวเป็นพยาบาล หน้าที่ของคานาม ๕. ใช้ตามหลังคาบุพบทเพื่อทาหน้าที่บอกสถานที่ หรือขยายกริยาให้มีเนื้อความบอกสถานที่ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น - คุณแม่ของเด็กหญิงสายฝนเป็นครู - นักเรียนไปโรงเรียน ๖. ใช้บอกเวลาโดยขยายคากริยาหรือคานามอื่น เช่น - คุณพ่อจะไปเชียงใหม่วันเสาร์ - เขาชอบมาตอนกลางวัน ๗. ใช้เป็นคาเรียกขานได้เช่น - น้าฝน ช่วยหยิบปากกาให้ครูทีซิ - ตารวจ ช่วยฉันด้วย จัดทำโดย นำงสำวพินทุสร นำสินเพิ่ม เลขที่ ๑๓ รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๓๗
  • 2. คานาม คือ คาที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์พืช สิ่งของ สถานที่ สภาพ อาการ ลักษณะ ทั้งที่เป็น สิ่งมีชีวิต หรือสิ่งที่ไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรม และนามธรรม เช่นคาว่า คน ปลา ไก่ ตะกร้า ประเทศไทย จังหวัดกาฬสินธุ์ การออกกาลังกาย การศึกษา ความรัก ความดี กอไผ่ กรรมกร ฝูง ตัว เป็นต้น คานามแบ่งออกเป็น ๕ ชนิดดังนี้ ๑. สามานยนาม หรือเรียกว่า คานามทั่วไป คือ คานามที่เป็นชื่อทั่วๆ ไป เป็นคาเรียกสิ่งต่างๆ โดยทั่วไปไม่ชี้เฉพาะเจาะจง เช่น ปลา ผีเสื้อ คน สุนัข วัด ต้นไม้บ้าน หนังสือ ปากกา เป็นต้น ๒. วิสามานยนาม หรือเรียกว่า คานามเฉพาะ คือ คานามที่ใช้เรียกชื่อของคน สัตว์หรือสถานที่ เป็น คาเรียกเจาะจงลงไปว่า เป็นใครหรือเป็นอะไร เช่น จังหวัดกาญจนบุรี วัดพระแก้ว เดือนมีนาคม เด็กหญิง ปรางค์ทิพย์วันอังคาร พระอภัยมณี เป็นต้น ๓. สมุหนาม คือ คานามที่ทาหน้าที่แสดง หมวดหมู่ของคานามทั่วไป หรือคานามเฉพาะ เช่น ฝูงผึ้ง กอไผ่ บริษัท พวกกรรมกร กองทหาร วงดนตรี โขลงช้าง คณะครู เป็นต้น ๔. ลักษณะนาม คือ คานามที่บอกลักษณะของ คานาม เพื่อแสดงรูปลักษณะ ขนาด ปริมาณ ของ คานามนั้นๆให้ชัดเจน เช่น โต๊ะ ๑ ตัว บ้าน ๑ หลัง ดินสอ ๒ แท่ง สมุด ๕ เล่ม คาว่า ตัว หลัง แท่ง และเล่ม เป็นลักษณะนาม ๕. อาการนาม คือ คานามที่เป็นชื่อกริยาอาการ เป็นสิ่งที่เป็นนามธรรม ไม่มีรูปร่าง มักมีคาว่า “การ” และ “ความ” นาหน้า เช่น การกิน การศึกษา การอ่าน การพูด การเดิน ความดี ความรัก ความงาม ความคิด ความฝัน เป็นต้น คานาม