ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
4. ประโยคที่มีความเป็นเหตุ
เป็นผลแก่กัน ประโยคความรวม
ชนิดนี้ ประกอบด้วยประโยคเล็ก 2
ประโยค ประโยคแรกเป็นเหตุประโยค
หลังเป็นผล
ตัวอย่าง
 เขามีความเพียรมากเพราะฉะนั้น
เขาจึงประสบความสาเร็จ
 คุณสุดาไม่อิจฉาใคร เธอจึงมี
ความสุขเสมอ
ประโยคความรวม
นางสาวเกศสุดา แสงสวี
รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๖๖
ชั้นปีที่ ๓ เลขที่ ๑๙ หมู่เรียน D๒
คณะครุศาสตร์ สาขาภาษาไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ
เจ้าพระยา
ผู้จัดทา
ประโยคความรวม คือ
ประโยคที่รวมเอาโครงสร้างประโยค
ความเดียวตั้งแต่ 2 ประโยคขึ้นไป
เข้าไว้ในประโยคเดียวกัน โดยมี
คาเชื่อมหรือสันธานทาหน้าที่เชื่อม
ประโยคเหล่านั้นเข้าด้วยกัน
ประโยคความรวมเรียกอีกอย่าง
หนึ่งว่า อเนกกรรถประโยค
ประโยคความรวมแบ่งใจความ
ออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
1. ประโยคที่มีความคล้อย
ตามกัน ประโยคความรวมชนิดนี้
ประกอบด้วยประโยคเล็กตั้งแต่ 2
ประโยคขึ้นไป มีเนื้ อความคล้อยตาม
กันในแง่ของความเป็นอยู่ เวลา และ
การกระทา
ตัวอย่าง
• ทรัพย์และสินเป็นลูกชายของ
พ่อค้าร้านสรรพพาณิชย์
• ทั้งทรัพย์และสินเป็นนักเรียน
โรงเรียนอาทรพิทยาคม
2. ประโยคที่มีความขัดแย้ง
กัน ประโยคความรวมชนิดนี้
ประกอบด้วยประโยคเล็ก 2 ประโยค
มีเนื้ อความที่แย้งกันหรือแตกต่างกัน
ในการกระทา หรือผลที่เกิดขึ้น
ตัวอย่าง
 พี่ตีฆ้องแต่น้องตีตะโพน
 กว่าถั่วจะสุกงาก็ไหม้
3. ประโยคที่มีความให้เลือก
ประโยคความรวมชนิดนี้ ประกอบด้วย
ประโยคเล็ก 2 ประโยคและ
กาหนดให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
ตัวอย่าง
 ไม่เธอก็ฉันเป็นคนไปซื้ออาหาร
• คุณชอบดนตรีไทย หรือ ดนตรี
สากล
ความหมายของประโยคความ ประเภทของประโยคความรวม

More Related Content

แผ่นพับเรื่องประโยคความรวมชั้นม.๒

  • 1. ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ 4. ประโยคที่มีความเป็นเหตุ เป็นผลแก่กัน ประโยคความรวม ชนิดนี้ ประกอบด้วยประโยคเล็ก 2 ประโยค ประโยคแรกเป็นเหตุประโยค หลังเป็นผล ตัวอย่าง  เขามีความเพียรมากเพราะฉะนั้น เขาจึงประสบความสาเร็จ  คุณสุดาไม่อิจฉาใคร เธอจึงมี ความสุขเสมอ ประโยคความรวม นางสาวเกศสุดา แสงสวี รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๖๖ ชั้นปีที่ ๓ เลขที่ ๑๙ หมู่เรียน D๒ คณะครุศาสตร์ สาขาภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ เจ้าพระยา ผู้จัดทา
  • 2. ประโยคความรวม คือ ประโยคที่รวมเอาโครงสร้างประโยค ความเดียวตั้งแต่ 2 ประโยคขึ้นไป เข้าไว้ในประโยคเดียวกัน โดยมี คาเชื่อมหรือสันธานทาหน้าที่เชื่อม ประโยคเหล่านั้นเข้าด้วยกัน ประโยคความรวมเรียกอีกอย่าง หนึ่งว่า อเนกกรรถประโยค ประโยคความรวมแบ่งใจความ ออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1. ประโยคที่มีความคล้อย ตามกัน ประโยคความรวมชนิดนี้ ประกอบด้วยประโยคเล็กตั้งแต่ 2 ประโยคขึ้นไป มีเนื้ อความคล้อยตาม กันในแง่ของความเป็นอยู่ เวลา และ การกระทา ตัวอย่าง • ทรัพย์และสินเป็นลูกชายของ พ่อค้าร้านสรรพพาณิชย์ • ทั้งทรัพย์และสินเป็นนักเรียน โรงเรียนอาทรพิทยาคม 2. ประโยคที่มีความขัดแย้ง กัน ประโยคความรวมชนิดนี้ ประกอบด้วยประโยคเล็ก 2 ประโยค มีเนื้ อความที่แย้งกันหรือแตกต่างกัน ในการกระทา หรือผลที่เกิดขึ้น ตัวอย่าง  พี่ตีฆ้องแต่น้องตีตะโพน  กว่าถั่วจะสุกงาก็ไหม้ 3. ประโยคที่มีความให้เลือก ประโยคความรวมชนิดนี้ ประกอบด้วย ประโยคเล็ก 2 ประโยคและ กาหนดให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ตัวอย่าง  ไม่เธอก็ฉันเป็นคนไปซื้ออาหาร • คุณชอบดนตรีไทย หรือ ดนตรี สากล ความหมายของประโยคความ ประเภทของประโยคความรวม