ݺߣ
Submit Search
ว ธ สอนแบบสร_างศร_ทธาและโยน_โสมนส_การ
•
Download as PPTX, PDF
•
0 likes
•
325 views
J
June Worapitcha
Follow
น.ส.วรพิชชา คำแสน 5615871027
Read less
Read more
1 of 24
Download now
Download to read offline
More Related Content
ว ธ สอนแบบสร_างศร_ทธาและโยน_โสมนส_การ
2.
การสอนโดยการสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ เป็นวิธีการ เรียนรู้ที่พระพุทธเจ้าได้ทรงวาง เป็นวิธีการที่สามารถอธิบายด้วย ภาษาทางการศึกษาสมัยใหม่ว่า
มีลักษณะบูรณาการของหลัก จิตวิทยาการเรียนรู้ หลักการแนะแนว และหลักการสอน อย่าง ผสมกลมกลืน ได้สัดส่วนสมดุลกัน
3.
นอกจากนั้นในแต่ละองค์ประกอบและขั้นตอนในการสอนที่สร้าง ศรัทธาและโยนิโสมนสิการ ยังมีหลักการย่อยๆขยายความ ซึ่งครู สมัยปัจจุบันน่าจะยึดถือและนามาประพฤติปฏิบัติให้สมกับเราได้ ดวงแก้วอันล้าค่าทาง
”การศึกษา” นี้อยู่ในมือ
4.
การเรียนการสอนที่เริ่มต้นด้วยการสร้าง ส่งเสริม ชักจูงและปลุก เร้าให้เกิดความเชื่อถือและเชื่อมั่นในตัวครูผู้สอน
สาระที่เรียน และวิธีการเรียนว่าจะบังเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ตัวผู้ที่ศึกษา การ สร้างศรัทธาจึงเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนมีฉันทะ มีแรงจูงใจใฝ่รู้ ซึ่งสามารถแบ่งปัจจัยภายนอกนี้ได้เป็น 2 องค์ประกอบใหญ่คือ
6.
การสอนให้เกิดโยนิโสมนสิการ ศรัทธานั้นเป็นปัจจัยภายนอก ซึ่งจะต้องควบคู่ด้วย วิธีการแห่งปัญญาจึงจะเกิดสัมมาทิฐิ สัมมาญาณ
และสัมมาวิมุตติ ได้ ปัจจัยภายในคือวิธีการแห่งปัญญานั้นเป็นวิธีการศึกษาฝึกอบรม ที่แท้และสาคัญที่สุด ดังจะเห็นได้จากการที่พระพุทธเจ้าได้ทรงเน้น หลักของการคิดโดยแยบคาย (โยนิโสมนสิการ) และได้ทรงใช้วิธี สอนให้คิดถึงถึง 10 วิธีคือ
7.
- คิดแบบสืบสาวหาสาเหตุปัจจัย -
คิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ - คิดแบบรู้เท่าทันธรรมดา - คิดแบบแก้ปัญหา - คิดแบบสัมพันธ์หลักการกับความมุ่งหมาย - คิดมองคุณโทษและทางออก - คิดแบบคุณค่าแท้และคุณค่าเทียม - คิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม - คิดตามสภาพความเป็นอยู่ปัจจุบัน และ - คิดจาแนกแยกแยะให้ครบทุกแง่ทุกมุม
8.
ในการเสนอแนวทางการประยุกต์พุทธวิธีการสอนมาใช้ ในการสอนในปัจจุบัน ตามหลักการสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ นั้น มี
3 แนวทางดังนี้คือ
9.
การประยุกต์การสอนตามวิธีการของพระพุทธเจ้า หลักการ การสอนโดยสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการนี้ใช้ สอนได้ทุกระดับการศึกษา มุ้งเน้นให้ครูเป็นกัลยาณมิตรของศิษย์ ครูและศิษย์มีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน และศิษย์ปฏิบัติอย่างถูก วิธี
จนสามารถใช้ปัญญาแก้ปัญหาได้อย่างหมาะสม
10.
ขั้นตอนการสอน 1. ขั้นนา การสร้างเจตคติที่ดีต่อครู
วิธีการเรียน และบทเรียน 1.1 การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนให้เหมาะสม 1.1.1 เหมาะกับระดับของชั้นเรียน เช่นการจัดชันเรียนในระดับ ปฐมวัยศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาและอุดมศึกษา
11.
1.1.2 เหมาะกับวัยและภูมิหลังของผู้เรียน บรรยากาศของชั้น เรียน
สาหรับเด็กเล็กๆ อาจมีความร่าเริง สนุกสนานมีเสียงเพลง ดนตรีประกอบเป็นต้น 1.1.3 เหมาะสมกับวิธีการสอน บรรยากาศและสภาพชั้นเรียนที่ สอนโดยวิธีการบรรยาย การสาธิต การทดลอง การแสดงบทบาท สมมุติ เป็นต้น
12.
การประยุกต์การสอนโดยให้สอดคล้องกับวิธีการสมัยใหม่ หลักการ ปัจจุบันนี้ได้มีการนาทฤษฎีการสอนของนักการศึกษา ต่างประเทศมาประยุกต์ใช้หลายวิธีการด้วยกัน ในที่นี้ใคร่ขอเสนอ ตัวอย่างวิธีการสอนเพื่อความคิดรวบยอด ความคิดรวบยอด
เป็น ความคิดและความเข้าใจที่เกิดขึ้นจากการรับรู้และประสบการณ์ ซึ่ง ทาให้บุคคลสามารถใช้เหคุผลและวิธีการต่างๆมาจาแนก สัมพันธ์ รวบรวม และสรุป กระบวนการสอนเพื่อสร้างความคิดรวบยอด ประยุกต์จากแนวการสอนโดยสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ เป็น กระบวนการที่ครูและนักเรียนได้ร่วมกันทากิจกรรมการเรียนการ สอนตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
13.
กิจกรรมขั้นตอน 1.การเตรียมบรรยากาศในชั้นเรียนและการสร้างศรัทธา 1.1 จัดสภาพห้องเรียนให้สงบสะอาด 1.2 สร้างความคุ้นเคยและความไว้วางใจซึ่งกันและกัน 1.3
เร้าความสนใจของนักเรียน 1.4 เสนอเหตุการณ์ สถานการณ์ ปัญหาและตัวอย่าง 1.5 การเสนอแหล่งข้อมูลทั้งที่มีอยู่ภายในสังคม
14.
กิจกรรมขั้นสอนเพื่อสร้างความคิดรวบยอด การแสวงหาข้อมูล ข้อเท็จจริง ความรู้และหลักการ 1.1
ฝึกวิธีการรวบรวมความรู้โดยสามารถใช้ทักษะต่างๆเช่น ทักษะภาษา ฯลฯ 1.2 ประมวลข้อมูล จัดประเด็นหมวดหมู่ของข้อมูล
15.
การวิเคราะห์และตัดสิน ในการเรียนจะวิเคราะห์ เลือกและตัดสินใจได้นั้น ครู และนักเรียนต้องร่วมกันทากิจกรรมต่างที่จะนาไปสู่การเลือกและ การตัดสินใจ
เช่นการศึกษากรณีตัวอย่างสถานการณ์จาลอง การ วิเคราะห์ข้อมูล การทดลองปฏิบัติ แล้วนาหลักการมาวิเคราะห์ ผลที่เกิดขึ้น เปรียบเทียบเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของคุณสมบัติ ประโยชน์และโทษ ตามเหตุและผล
16.
ครูจัดกิจกรรมย้าทวนความคิดรวบยอด เพื่อให้นักเรียนมีความ เข้าใจ เกิดความม่นใจพิสูจน์สรุปได้ดียิ่งขึ้น
โดยจัดกิจกรรมที่ ช่วยให้นักเรียนสามารถ 1.1 เชื่อมโยงกับความคิดรวบยอดเดิมที่เกี่ยวข้องกัน 1.2 คิดหาเหตุผล และยกตัวอย่างตามประสบการณ์เดิมและ ประสบการณ์ใหม่ได้ 1.3 แสดงออกซึ่งเจตคติและเสนอแนวปฏิบัติตนตามความคิด รวบยอดที่สรุปได้
17.
กิจกรรมขั้นปฏิบัติและประเมินผล นักเรียนนาความคิดรวบยอดไปปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้ 1.1 ปรับความคิดรวบยอดที่สรุปได้ให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ ในชีวิตจริง 1.2 แสวงหาปฏิบัติที่เหมาะสมหลายๆวิธี 1.3
ปฏิบัติตามความคิดรวบยอดและแนวทางนั้นๆอย่าง สม่าเสมอ โดยให้ถูกต้องกับหลักธรรม ประเพณีค่านิยม กฎหมาย และระเบียบแบแผน
18.
นักเรียนนาความคิดรวบยอดไป ประเมินผลจากการปฏิบัติโดย 1.1 วิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้น 1.2
วิเคราะห์ผลและประเมินตนเอง 1.3 รับฟังการประเมินโดยผู้อื่น 1.4 ปรับปรุงตนเอง
19.
การประยุกต์โดยการนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มาใช้ในขั้นตอนของกระบวนการสอน การจัดขั้นตอนจาก หัวข้อธรรมะนั้นๆโดยตรง จากการที่ได้ศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา หัวข้อธรรมะที่พระพุทธเจ้าได้แสดงไว้นั้นล้วนแต่เป็นหลักปฏิบัติ ที่ทาให้บุคคลได้ฝึกฝนอบรมตนเองทั้งสิ้นยกตัวอย่าง หัวข้อ ธรรมะเรื่อง
พละ๕หรืออินทรีย์๕ซึ่งเป็นธรรมะที่สร้างพลังสาคัญ ในการทาภารกิจใดๆหรือในการฝึกปฏิบัติอบรมตนให้บรรลุ เป้ าหมายและเป็นพลังที่เริ่มต้นจาก ศรัทธา ไปสู่ปัญญาที่แท้จริง
21.
ที่มา • https://blog.eduzones.com/Chayapa/141016
22.
โมึϸ
Download