ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
รูปแบบการสอนของเจอโรลด์ เคมป์
(Jerrold Kemp Model)
ระบบการสอนของเคมพ์ (Jerrold/Kemp)
รูปแบบการเรียนการสอนของเคมพ์แตกต่างไปจากรูปแบบส่วน
ใหญ่ เนื่องจากได้เปลี่ยนรูปแบบไปจากแบบแนวเส้นตรง (Linear) เคมพ์
ได้นาเสนอรูปแบบของเขาในปี 1971 และได้ปรับปรุงในปี 1985 โดยรูปแบบ
นี้มีองค์ประกอบ 10 ประการ กระบวนการออกแบบจะเริ่มจากจุดศูนย์กลาง
และต่อไปยังขั้นตอนใดก่อนก็ได้ โดยไม่ต้องเรียงลาดับกันไป
เคมพ์แบ่งขั้นตอนในการพิจารณาการจัดระบบการสอน 10 ประการ
1. ความต้องการในการเรียน จุดมุ่งหมายในการสอน สิ่งสาคัญ ข้อจากัด
(Learning Needs , Goals , Priorities
Constraints) การประเมินความต้องการในการเรียนนับว่ามีส่วนสาคัญในการ
กาหนดจุดมุ่งหมายและโปรแกรมการเรียนการสอน
ให้สอดคล้องกับความต้องการนั้นและนับเป็นสิ่งสาคัญขั้นแรกในการเริ่มต้นของ
กระบวนการออกแบบการสอน จึงจัดอยู่ในศูนย์กลางของ
ระบบและนับว่าเป็นพื้นฐานของข้อปลีกย่อยต่าง ๆ 9 ประการ ในกระบวนการ
ออกแบบการสอนนี้
2. หัวข้อเรื่อง งานและจุดประสงค์ทั่วไป (Topics -Job Tasks
Purposes)
ในการสอนหรือโปรแกรมของ การสอนนั้นย่อมประกอบด้วยหัวข้อเรื่องของ
วิชาซึ่งเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานความรู้และ/หรือหัวข้องานที่เป็นพื้นฐานทาง
ทักษะด้านกายภาพซึ่งหัวข้อเหล่านี้ย่อมต้องมีการเขียนเป็นจุดประสงค์ทั่วไปไว้
เพื่อให้ทราบอย่างแน่นอนว่าผู้สอนต้องการให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานและทักษะ
สามารถทางานอะไรได้บ้างเมื่อเรียนจบบทเรียนนั้นแล้วจุดประสงค์ทั่วไปและหัวข้อ
ต่าง ๆ นี้จะเป็นเสมือนกรอบในการออกแบบโปรแกรมการเรียนการสอนซึ่ง
ประกอบด้วยเนื้อหาความรู้และวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ของการเรียน
3. ลักษณะผู้เรียน (Learner Characteristics)
เป็นการสารวจเพื่อพิจารณาดูถึงภูมิหลังด้านสังคม การศึกษา
และสภาพเศรษฐกิจของผู้เรียนแต่ละคน ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการจัดสภาพการ
เรียนรู้และวิธีการเรียนให้เหมาะสมตามความสามารถ
และความสนใจของผู้เรียน
4. เนื้อหาวิชาและการวิเคราะห์งาน (Subject Content ,Task
Analysis)
ในการวางแผนการสอน เนื้อหาวิชาที่เกี่ยวข้องกับหัวเรื่องนับว่าเป็นสิ่งสาคัญ
มากอย่างหนึ่ง โดยที่ต้องการเรียบเรียงเนื้อหาตามลาดับขั้นตอนให้เหมาะสมและง่าย
ต่อความเข้าใจของผู้เรียน เนื้อหาวิชาและการวิเคราะห์งานนี้สามารถใช้เพื่อเป็นเกณฑ์
ในการกาหนดวัตถุประสงค์ หรือเพื่อจัดหาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์และเพื่อการออกแบบ
เครื่องมือทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนก็ได
5. วัตถุประสงค์การเรียน (Learning Objectives)
เป็นการตั้งวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมของการเรียนว่า ผู้เรียนควรรู้หรือสามารถ
ทาอะไรได้บ้างเมื่อเรียนบทเรียนนั้นจบแล้ว และนับเป็นส่วนช่วยในการวางแผนการ
สอนและจัดลาดับเนื้อหาวิชา ตลอดจนเป็นแนวทางในการประเมินผู้เรียนและ
ประสิทธิภาพของการเรียนการสอนด้วย
6. กิจกรรมการเรียนการสอน (Teaching / Learning Activities)
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมย่อมขึ้นอยู่กับสภาพการณ์ต่าง ๆ
หลายประการ นับตั้งแต่จุดมุ่งหมาย ลักษณะของผู้เรียน เนื้อหาวิชา และการ วัดผล โดย
ผู้สอนต้องคานึงถึงกลุ่มผู้เรียนด้วย เพื่อที่จะสามารถจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับ
จุดมุ่งหมายของวิชาและความสนใจของกลุ่ม นอกจากนั้นการเลือกวัสดุอุปกรณ์สื่อการ
สอนก็ต้องให้สัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียน การสอนด้วย
7. ทรัพยากรในการสอน (Instructional Resources)
หมายถึงสื่อการสอนที่จะช่วยสนับสนุนและส่งเสริมให้ กิจกรรมการเรียนการสอน
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งผู้สอนต้องเลือกสื่อมาใช้ให้เหมาะสมโดยคานึงถึงกลุ่ม
ผู้เรียนและสถานการณ์การเรียนการสอนเป็นสาคัญ
8. บริการสนับสนุน (Support Services)
คือการจัดสิ่งอานวยความสะดวกในการเรียนการสอน เช่น งบประมาณ
สถานที่อาคารเรียน สื่อวัสดุ อุปกรณ์ บุคลากร และตารางเวลาที่เหมาะสมในการ
ทางาน
9. การประเมินการเรียน (Learning Evaluation)
เป็นการประเมินว่าผู้เรียนนั้นได้รับความรู้สามารถบรรลุผลตาม
จุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้หรือไม่และมากน้อยเพียงใด โดยการสร้างเครื่องมือทดสอบและ
วัดผล ทั้งนี้เพื่อเป็นการทราบข้อบกพร่องต่าง ๆ ของระบบการสอนและเพื่อเป็น
แนวทางในการปรับปรุงแก้ไขระบบการสอนนั้นต่อไป
10. การทดสอบก่อนการเรียน (Pretesting)
เป็นการทดสอบก่อนว่าผู้เรียนมีประสบการณ์เดิมและพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับ
เนื้อหาใหม่นี้อย่างไร และควรจะได้เรียนรู้อะไรเพิ่มเติมอีกบ้างจากความรู้เก่าที่เคย
เรียนมา
โมเดลระบบการสอนของเคมพ์ (Kemp)
แหล่งอ้างอิงจาก
student.nu.ac.th/techno/system2.html
www.kroobannok.com/93
จัดทาโดย
นางสาว สิริกาญจน์ บุญเรือง
รหัส 5615871033
ภาษาอังกฤษ คบ.

More Related Content

รูปแบบการสอนของเจอโรลด์ เคมป์

  • 2. ระบบการสอนของเคมพ์ (Jerrold/Kemp) รูปแบบการเรียนการสอนของเคมพ์แตกต่างไปจากรูปแบบส่วน ใหญ่ เนื่องจากได้เปลี่ยนรูปแบบไปจากแบบแนวเส้นตรง (Linear) เคมพ์ ได้นาเสนอรูปแบบของเขาในปี 1971 และได้ปรับปรุงในปี 1985 โดยรูปแบบ นี้มีองค์ประกอบ 10 ประการ กระบวนการออกแบบจะเริ่มจากจุดศูนย์กลาง และต่อไปยังขั้นตอนใดก่อนก็ได้ โดยไม่ต้องเรียงลาดับกันไป
  • 3. เคมพ์แบ่งขั้นตอนในการพิจารณาการจัดระบบการสอน 10 ประการ 1. ความต้องการในการเรียน จุดมุ่งหมายในการสอน สิ่งสาคัญ ข้อจากัด (Learning Needs , Goals , Priorities Constraints) การประเมินความต้องการในการเรียนนับว่ามีส่วนสาคัญในการ กาหนดจุดมุ่งหมายและโปรแกรมการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับความต้องการนั้นและนับเป็นสิ่งสาคัญขั้นแรกในการเริ่มต้นของ กระบวนการออกแบบการสอน จึงจัดอยู่ในศูนย์กลางของ ระบบและนับว่าเป็นพื้นฐานของข้อปลีกย่อยต่าง ๆ 9 ประการ ในกระบวนการ ออกแบบการสอนนี้
  • 4. 2. หัวข้อเรื่อง งานและจุดประสงค์ทั่วไป (Topics -Job Tasks Purposes) ในการสอนหรือโปรแกรมของ การสอนนั้นย่อมประกอบด้วยหัวข้อเรื่องของ วิชาซึ่งเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานความรู้และ/หรือหัวข้องานที่เป็นพื้นฐานทาง ทักษะด้านกายภาพซึ่งหัวข้อเหล่านี้ย่อมต้องมีการเขียนเป็นจุดประสงค์ทั่วไปไว้ เพื่อให้ทราบอย่างแน่นอนว่าผู้สอนต้องการให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานและทักษะ สามารถทางานอะไรได้บ้างเมื่อเรียนจบบทเรียนนั้นแล้วจุดประสงค์ทั่วไปและหัวข้อ ต่าง ๆ นี้จะเป็นเสมือนกรอบในการออกแบบโปรแกรมการเรียนการสอนซึ่ง ประกอบด้วยเนื้อหาความรู้และวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ของการเรียน
  • 5. 3. ลักษณะผู้เรียน (Learner Characteristics) เป็นการสารวจเพื่อพิจารณาดูถึงภูมิหลังด้านสังคม การศึกษา และสภาพเศรษฐกิจของผู้เรียนแต่ละคน ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการจัดสภาพการ เรียนรู้และวิธีการเรียนให้เหมาะสมตามความสามารถ และความสนใจของผู้เรียน
  • 6. 4. เนื้อหาวิชาและการวิเคราะห์งาน (Subject Content ,Task Analysis) ในการวางแผนการสอน เนื้อหาวิชาที่เกี่ยวข้องกับหัวเรื่องนับว่าเป็นสิ่งสาคัญ มากอย่างหนึ่ง โดยที่ต้องการเรียบเรียงเนื้อหาตามลาดับขั้นตอนให้เหมาะสมและง่าย ต่อความเข้าใจของผู้เรียน เนื้อหาวิชาและการวิเคราะห์งานนี้สามารถใช้เพื่อเป็นเกณฑ์ ในการกาหนดวัตถุประสงค์ หรือเพื่อจัดหาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์และเพื่อการออกแบบ เครื่องมือทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนก็ได
  • 7. 5. วัตถุประสงค์การเรียน (Learning Objectives) เป็นการตั้งวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมของการเรียนว่า ผู้เรียนควรรู้หรือสามารถ ทาอะไรได้บ้างเมื่อเรียนบทเรียนนั้นจบแล้ว และนับเป็นส่วนช่วยในการวางแผนการ สอนและจัดลาดับเนื้อหาวิชา ตลอดจนเป็นแนวทางในการประเมินผู้เรียนและ ประสิทธิภาพของการเรียนการสอนด้วย
  • 8. 6. กิจกรรมการเรียนการสอน (Teaching / Learning Activities) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมย่อมขึ้นอยู่กับสภาพการณ์ต่าง ๆ หลายประการ นับตั้งแต่จุดมุ่งหมาย ลักษณะของผู้เรียน เนื้อหาวิชา และการ วัดผล โดย ผู้สอนต้องคานึงถึงกลุ่มผู้เรียนด้วย เพื่อที่จะสามารถจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับ จุดมุ่งหมายของวิชาและความสนใจของกลุ่ม นอกจากนั้นการเลือกวัสดุอุปกรณ์สื่อการ สอนก็ต้องให้สัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียน การสอนด้วย
  • 9. 7. ทรัพยากรในการสอน (Instructional Resources) หมายถึงสื่อการสอนที่จะช่วยสนับสนุนและส่งเสริมให้ กิจกรรมการเรียนการสอน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งผู้สอนต้องเลือกสื่อมาใช้ให้เหมาะสมโดยคานึงถึงกลุ่ม ผู้เรียนและสถานการณ์การเรียนการสอนเป็นสาคัญ
  • 10. 8. บริการสนับสนุน (Support Services) คือการจัดสิ่งอานวยความสะดวกในการเรียนการสอน เช่น งบประมาณ สถานที่อาคารเรียน สื่อวัสดุ อุปกรณ์ บุคลากร และตารางเวลาที่เหมาะสมในการ ทางาน
  • 11. 9. การประเมินการเรียน (Learning Evaluation) เป็นการประเมินว่าผู้เรียนนั้นได้รับความรู้สามารถบรรลุผลตาม จุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้หรือไม่และมากน้อยเพียงใด โดยการสร้างเครื่องมือทดสอบและ วัดผล ทั้งนี้เพื่อเป็นการทราบข้อบกพร่องต่าง ๆ ของระบบการสอนและเพื่อเป็น แนวทางในการปรับปรุงแก้ไขระบบการสอนนั้นต่อไป