ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
1



                       ใบความรู้ ท่ี 2
              เร่ ือง ขูอม้ลและสารสนเทศ
1. ความหมายของข้อมูล
     ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงเก่ียวกับบุคคล สัตว์ ส่ิงของ สถานท่ี หรือ
     เหตุการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นซ่ ึงอาจเป็ น
ข้อความ ตัวเลข หรือภาพก็ได้ ข้อมูลควรจะเป็ นส่ิงท่ีเป็ นข้อเท็จจริงและเป็ น
ความจริง


2. ประเภทของข้อมูล
        สารสนเทศ คือข้อมูลท่ีผ่านการประมวลผลแล้ว ซ่ ึงสามารถนำ าไปใช้
ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์
ของผู้ใช้ สารสนเทศท่ีดีจะต้องได้จากข้อมูลท่ีดี คุณสมบัติของข้อมูลท่ีดี มี
ดังนี้
·        ถูกต้อง
·        ทันเวลา
·        สอดคล้องกับงาน
·        สามารถตรวจสอบได้
·        ครบถ้วน
สารสนเทศสามารถแบ่งแยกประเภทออกตามสภาพความต้องการท่ีจัดทำาขึ้น
ได้ ดังนี้
1. สารสนเทศท่ีทำาประจำา เช่น การทำารายงานสรุปจำานวนนั กเรียนท่ีมา
โรงเรียนในแต่ละวัน รายงานรายรับรายจ่ายประจำาวันของโรงเรียน
2. สารสนเทศท่ีต้องทำาตามกฎหมาย เช่น การทำาบัญชีงบดุลของบริษัทท่ี
ต้องย่ ืนต่อทางราชการ และเพ่ ือใช้ในการเสียภาษี
3. สารสนเทศท่ีได้รบมอบหมายให้จดทำาขึ้นโดยเฉพาะ เช่น รายงานข้อมูลท่ี
                    ั               ั
ช่วยสนั บสนุนการตัดสินใจ
2




ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศ
       ระบบสารสนเทศเป็ นงานท่ีต้องใช้ส่วนประกอบหลายอย่าง ในการ
ทำาให้เกิดเป็ นกลไกในการนำ าข้อมูล มาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ ส่วนประกอบท่ี
สำาคัญของระบบสารสนเทศมี 5 ส่วน คือ
1. บุคลากร
2. ขันตอนการปฏิบัติ
     ้
3. เคร่ ืองคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
4. ซอฟต์แวร์
5. ข้อมูล

ข้อมูลสามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ
1. ข้อมูลปฐมภูมิ เป็ นข้อมูลท่ีได้จากแหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น ข้อมูลท่ีได้จาก
การสอบถามโดยตรง การสัมภาษณ์ การสำารวจ การจดบันทึก เช่น การ
สอบถามอายุของเพ่ ือน ข้อมูลท่ีได้จากเคร่ ืองจักรอัตโนมัติ ได้แก่ เคร่ ืองอ่าน
รหัสแท่ง เคร่ ืองอ่านเคร่ ืองหมายบนกระดาษ
2. ข้อมูลทุติยภูมิ เป็ นข้อมูลท่ีได้จากข้อมูลท่ีมีผู้อ่ืนรวบรวมไว้ให้แล้ว ผู้ใช้
ข้อมูลไม่จำาเป็ นต้อง ไปสำารวจเอง เช่น ข้อมูลสถิติต่าง ท่ีหน่ วยงานรัฐบาลทำา
ไว้แล้ว เช่น สถิตจำานวนประชากร สถิติการส่งสินค้าออก สถิติการนำ าสินค้า
เข้า ข้อมูลเหล่านี้มีการตีพิมพ์เผยแพร่เพ่ ือให้นำาไปใช้งาน ได้ต่อไป
การประมวลผลข้อมูล คือ
การนำ าข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมได้มาผ่านกระบวนการต่างๆ เพ่ ือแปรสภาพข้อมูล
ให้อยู่ในรูปแบบท่ีต้องการ ท่ีเรียกว่า "สารสนเทศ "

วิธีการประมวลผล จำาแนกได้ 3 วิธี
1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing) เช่น ใช้ลูกคิด ,
เคร่ ืองคิดเลข การประมวลผลแบบนี้เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็กท่ีมีปริมาณ
ข้อมูลไม่มากนั ก และการคำานวณไม่ยุ่งยากซับซ้อน
2. การประมวลผลด้วยเคร่ ืองจักร (Mechanical Data Processing) เช่น
เคร่ ืองทำาบัญชีด้วยบัตรเจาะรู การประมวลผลแบบนี้เหมาะกับธุรกิจขนาด
กลาง ท่ีมีข้อมูปริมาณปานกลาง และต้องการความเร็วในการทำางานปาน
กลาง
3. การประมวลผลข้อมูลด้วยเคร่ ืองอิเล็กทรอนิ กส์ (Electronic Data
Processing) ซ่ ึงหมายถึง เคร่ ืองคอมพิวเตอร์นั่นเอง ลักษณะงานท่ีเหมาะ
สมต่อการประมวลผลด้วย เคร่ ืองคอมพิวเตอร์ คือ งานท่ีมีปริมาณมากๆ
3


ต้องการความถูกต้องรวดเร็ว มีขันตอนในการทำางานซำาๆ กัน และมีการ
                              ้                ้
คำานวณท่ียุ่งยากซับซ้อน
ขันตอนการประมวลผลข้อมูล หรือขันตอนให้ได้มาซ่ ึงสารสนเทศ แบ่งออก
  ้                             ้
เป็ น 3 ขันตอน ดังนี้
          ้


1. ขันเตรียมข้อมูล (Input) : การลงรหัส , การตรวจสอบแก้ไขข้อมูล , การ
     ้
แยกประเภทข้อมูล , การบันทึกข้อมูลลงส่ ือ
2. ขันการประมวลผล (Processing) : การคำานวณ , การเรียงลำาดับข้อมูล ,
       ้
การดึงข้อมูลมาใช้ , การรวมข้อมูล
3. ขันการแสดงผลลัพธ์ (Output) : ผลสรุปรายงาน
         ้

วิธีการประมวลผล แบ่งตามระยะเวลาออกได้เป็ น 2 วิธี
1. การประมวลผลแบบแบทซ์ หรือแบบกลุ่ม (Batch Processing)
เป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลไว้ระยะเวลาหน่ ึงแล้วจึงจะประมวลผลได้ เช่น การ
คิดเกรด ต้องเก็บรวบรวมคะแนนตังแต่ต้นเทอม จนถึงปลายเทอม แล้วจึง
                                  ้
ทำาการรวบรวมประมวลผลได้เป็ นเกรดตอนปลายเทอม
2. การประมวลผลแบบเช่ ือมตรง (Online Processing)เป็ นการประมวล
ผลแบบทันทีทันใด ไม่ต้องรอระยะเวลา เช่น การถอนเงินจากเคร่ ืองเอทีเอ็ม
ไม่ต้องรอนาน เคร่ ืองจะทำาการจ่ายเงินออกมาทันที
4

More Related Content

ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสน๶ทศ

  • 1. 1 ใบความรู้ ท่ี 2 เร่ ือง ขูอม้ลและสารสนเทศ 1. ความหมายของข้อมูล ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงเก่ียวกับบุคคล สัตว์ ส่ิงของ สถานท่ี หรือ เหตุการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นซ่ ึงอาจเป็ น ข้อความ ตัวเลข หรือภาพก็ได้ ข้อมูลควรจะเป็ นส่ิงท่ีเป็ นข้อเท็จจริงและเป็ น ความจริง 2. ประเภทของข้อมูล สารสนเทศ คือข้อมูลท่ีผ่านการประมวลผลแล้ว ซ่ ึงสามารถนำ าไปใช้ ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์ ของผู้ใช้ สารสนเทศท่ีดีจะต้องได้จากข้อมูลท่ีดี คุณสมบัติของข้อมูลท่ีดี มี ดังนี้ · ถูกต้อง · ทันเวลา · สอดคล้องกับงาน · สามารถตรวจสอบได้ · ครบถ้วน สารสนเทศสามารถแบ่งแยกประเภทออกตามสภาพความต้องการท่ีจัดทำาขึ้น ได้ ดังนี้ 1. สารสนเทศท่ีทำาประจำา เช่น การทำารายงานสรุปจำานวนนั กเรียนท่ีมา โรงเรียนในแต่ละวัน รายงานรายรับรายจ่ายประจำาวันของโรงเรียน 2. สารสนเทศท่ีต้องทำาตามกฎหมาย เช่น การทำาบัญชีงบดุลของบริษัทท่ี ต้องย่ ืนต่อทางราชการ และเพ่ ือใช้ในการเสียภาษี 3. สารสนเทศท่ีได้รบมอบหมายให้จดทำาขึ้นโดยเฉพาะ เช่น รายงานข้อมูลท่ี ั ั ช่วยสนั บสนุนการตัดสินใจ
  • 2. 2 ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเป็ นงานท่ีต้องใช้ส่วนประกอบหลายอย่าง ในการ ทำาให้เกิดเป็ นกลไกในการนำ าข้อมูล มาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ ส่วนประกอบท่ี สำาคัญของระบบสารสนเทศมี 5 ส่วน คือ 1. บุคลากร 2. ขันตอนการปฏิบัติ ้ 3. เคร่ ืองคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ 4. ซอฟต์แวร์ 5. ข้อมูล ข้อมูลสามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ 1. ข้อมูลปฐมภูมิ เป็ นข้อมูลท่ีได้จากแหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น ข้อมูลท่ีได้จาก การสอบถามโดยตรง การสัมภาษณ์ การสำารวจ การจดบันทึก เช่น การ สอบถามอายุของเพ่ ือน ข้อมูลท่ีได้จากเคร่ ืองจักรอัตโนมัติ ได้แก่ เคร่ ืองอ่าน รหัสแท่ง เคร่ ืองอ่านเคร่ ืองหมายบนกระดาษ 2. ข้อมูลทุติยภูมิ เป็ นข้อมูลท่ีได้จากข้อมูลท่ีมีผู้อ่ืนรวบรวมไว้ให้แล้ว ผู้ใช้ ข้อมูลไม่จำาเป็ นต้อง ไปสำารวจเอง เช่น ข้อมูลสถิติต่าง ท่ีหน่ วยงานรัฐบาลทำา ไว้แล้ว เช่น สถิตจำานวนประชากร สถิติการส่งสินค้าออก สถิติการนำ าสินค้า เข้า ข้อมูลเหล่านี้มีการตีพิมพ์เผยแพร่เพ่ ือให้นำาไปใช้งาน ได้ต่อไป การประมวลผลข้อมูล คือ การนำ าข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมได้มาผ่านกระบวนการต่างๆ เพ่ ือแปรสภาพข้อมูล ให้อยู่ในรูปแบบท่ีต้องการ ท่ีเรียกว่า "สารสนเทศ " วิธีการประมวลผล จำาแนกได้ 3 วิธี 1. การประมวลผลด้วยมือ (Manual Data Processing) เช่น ใช้ลูกคิด , เคร่ ืองคิดเลข การประมวลผลแบบนี้เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็กท่ีมีปริมาณ ข้อมูลไม่มากนั ก และการคำานวณไม่ยุ่งยากซับซ้อน 2. การประมวลผลด้วยเคร่ ืองจักร (Mechanical Data Processing) เช่น เคร่ ืองทำาบัญชีด้วยบัตรเจาะรู การประมวลผลแบบนี้เหมาะกับธุรกิจขนาด กลาง ท่ีมีข้อมูปริมาณปานกลาง และต้องการความเร็วในการทำางานปาน กลาง 3. การประมวลผลข้อมูลด้วยเคร่ ืองอิเล็กทรอนิ กส์ (Electronic Data Processing) ซ่ ึงหมายถึง เคร่ ืองคอมพิวเตอร์นั่นเอง ลักษณะงานท่ีเหมาะ สมต่อการประมวลผลด้วย เคร่ ืองคอมพิวเตอร์ คือ งานท่ีมีปริมาณมากๆ
  • 3. 3 ต้องการความถูกต้องรวดเร็ว มีขันตอนในการทำางานซำาๆ กัน และมีการ ้ ้ คำานวณท่ียุ่งยากซับซ้อน ขันตอนการประมวลผลข้อมูล หรือขันตอนให้ได้มาซ่ ึงสารสนเทศ แบ่งออก ้ ้ เป็ น 3 ขันตอน ดังนี้ ้ 1. ขันเตรียมข้อมูล (Input) : การลงรหัส , การตรวจสอบแก้ไขข้อมูล , การ ้ แยกประเภทข้อมูล , การบันทึกข้อมูลลงส่ ือ 2. ขันการประมวลผล (Processing) : การคำานวณ , การเรียงลำาดับข้อมูล , ้ การดึงข้อมูลมาใช้ , การรวมข้อมูล 3. ขันการแสดงผลลัพธ์ (Output) : ผลสรุปรายงาน ้ วิธีการประมวลผล แบ่งตามระยะเวลาออกได้เป็ น 2 วิธี 1. การประมวลผลแบบแบทซ์ หรือแบบกลุ่ม (Batch Processing) เป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลไว้ระยะเวลาหน่ ึงแล้วจึงจะประมวลผลได้ เช่น การ คิดเกรด ต้องเก็บรวบรวมคะแนนตังแต่ต้นเทอม จนถึงปลายเทอม แล้วจึง ้ ทำาการรวบรวมประมวลผลได้เป็ นเกรดตอนปลายเทอม 2. การประมวลผลแบบเช่ ือมตรง (Online Processing)เป็ นการประมวล ผลแบบทันทีทันใด ไม่ต้องรอระยะเวลา เช่น การถอนเงินจากเคร่ ืองเอทีเอ็ม ไม่ต้องรอนาน เคร่ ืองจะทำาการจ่ายเงินออกมาทันที
  • 4. 4