ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ข้อมูลและสารสน๶ทศ
ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคล สัตว์ สิ่งของ สถานที่ หรือเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นซึ่งอาจเป็นข้อความ ตัวเลข หรือภาพก็ได้ ข้อมูลควรจะเป็นสิ่งที่เป็นข้อเท็จจริงและเป็น ความจริง ความหมายของข้อมูล
ประเภทของข้อมูล ข้อมูลสามารถแบ่งได้เป็น  2  ประเภท คือ 1.  ข้อมูลปฐมภูมิ  2.  ข้อมูลทุติยภูมิ
ข้อมูลปฐมภูมิ  เป็นข้อมูลที่ได้จากแหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น ข้อมูลที่ได้จากการสอบถามโดยตรง การสัมภาษณ์ การสำรวจ การจด
ชื่อ  -  นามสกุล งานอดิเรก สีที่ชอบ กัญญาภัค มีผ่องศรี ฟังเพลง สีส้ม การเกด  เกิดพร้อม อ่านหนังสือ สีแดง กิติยา พงษ์วิเชียร ว่ายน้ำ สีขาว จันจิรา ถาวร เล่นดนตรี สีชมพู ตัวอย่างข้อมูลปฐมภูมิ
เป็นข้อมูลที่ได้จากข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้ให้แล้ว ผู้ใช้ข้อมูลไม่จำเป็นต้องไปสำรวจเอง เช่น ข้อมูลสถิติต่าง ที่หน่วยงานรัฐบาลทำไว้แล้ว เช่น สถิตจำนวนประชากร สถิติการส่งสินค้าออก สถิติการนำสินค้าเข้า ข้อมูลทุติยภูมิ
ที่มา  :  การสำรวจการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  ( ครัวเรือน )  พ . ศ .  2550  สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตัวอย่างข้อมูลทุติยภูมิ จำนวนประชากรอายุ  6  ปีขึ้นไป จำแนกตามการใช้คอมพิวเตอร์ / อินเทอร์เน็ตและเพศ กรุงเทพมหานคร พ . ศ . 2550 เพศ การใช้คอมพิวเตอร์ การใช้อินเทอร์เน็ต ใช้ ไม่ใช้ รวม ใช้ ไม่ใช้ รวม รวม 2,573,827 3,828,910 6,402,737 1,917,349 4,487,405 6,404,754 ชาย 1,323,156 1,756,432 3,079,588 901,921 2,086,669 2,988,590 หญิง 3,414,166 2,072,499 5,486,665 1,015,427 2,398,740 3,414,167
ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลด้วยวิธีการที่เหมาะสมและถูกต้อง เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ และอยู่ในรูปแบบที่ใช้งานได้ ความหมายของสารสน๶ทศ
สารสนเทศที่ดีจะต้องได้จากข้อมูลที่ดี คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี มีดังนี้  1.   ถูกต้อง  2.  ทันเวลา  3.  ครบถ้วน 4.  สอดคล้องกับงาน  5.  สามารถตรวจสอบได้  ความหมายของสารสน๶ทศ
กระบวนการจัดการข้อมูลตามขั้นตอนที่ถูกต้อง  ได้แก่ การรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล แบ่งแยกข้อมูล จัดเรียงข้อมูล คำนวณ เก็บรักษาข้อมูล เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ ได้ การประมวลผลให้เป็นสารสนเทศ
สารสนเทศแบ่งได้  3  ประเภท 1.  สารสนเทศที่ทำเป็นประจำ 2.  สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมาย 3.  สารสนเทศที่ได้รับหมายมอบให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะ ประเภทของสารสนเทศ
สารสนเทศที่จัดขึ้นเป็นประจำ มีการดำเนินการอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำรายงานสรุปจำนวนนักเรียนที่มาโรงเรียนในแต่ละวัน รายงานรายรับรายจ่ายประจำวันของโรงเรียน 1.  สารสนเทศที่ทำเป็นประจำ
จัดทำขึ้นตามข้อกำหนด มีการออกกฎ หรือกำหนดข้อบังคับให้ทำรายงานส่งหน่วยที่เกี่ยวข้อง การทำบัญชีงบดุลของบริษัทที่ต้องยื่นต่อทางราชการ และเพื่อใช้ในการเสียภาษี  2.  สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมาย
จัดทำขึ้นเฉพาะเหตุการณ์ เป็นครั้งคราว  เพื่อนำ ข้อมูลมาช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ เช่น รัฐบาลต้องการสร้างสถานีรถไฟต่อจากเดิม และจำเป็นต้องได้ข้อมูลเพื่อสนับสนุนว่าควรสร้างต่อหรือไม่ 3.  สารสนเทศที่ได้รับมอบหมาย ให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะ

More Related Content

ข้อมูลและสารสน๶ทศ