ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง (เครือข่ายพลเมืองเน็ต)
–เครือข่ายพลเมืองเน็ต
“เปิดเน็ต เปิดใจ”
ข้อมูลองค์กร
• องค์กรไม่แสวงกำไร ดำเนินงานเพื่อ
คุ้มครองสิทธิพลเมืองที่เกี่ยวกับ
เทคโนโลยีและสารสนเทศ
• ก่อตั้งในชื่อ “เครือข่ายพลเมือง
เน็ต” (Thai Netizen Network) เมื่อ
ธ.ค. 2008 ในสภาพแวดล้อมที่รัฐเริ่ม
เข้มงวดกับการควบคุมอินเทอร์เน็ต เป็น
ช่วงแรกของการใช้พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
• จดทะเบียน “มูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและ
วัฒนธรรมพลเมือง” (Foundation for
Internet and Civic Culture) เมื่อ 28
พ.ค. 2014 -- ทะเบียนเลขที่ กท 2445
วัตถุประสงค์ของมูลนิธิ
• ส่งเสริมการศึกษาวิจัยด้าน
เทคโนโลยี สังคม วัฒนธรรม
• ส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
การสร้างความรู้ การมีส่วนร่วมของ
พลเมือง
• ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ
ของประชาชน
ทุนดำเนินงาน
• Media Legal Defence Initiative (ธ.ค. 2008
- พ.ค. 2009)
• มูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ (HBF) (2009-2012)
• Privacy International (2013-2014)
• สมาคมเครือข่ายสื่อมวลชนในเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ (SEAPA) (ต.ค. 2013 - ธ.ค. 2015)
• Open Society Foundation (2014)
• Fund for Global Human Rights (2015)
• ทุนโครงการระยะสั้น (1-6 เดือน) เช่นจาก
Internews, EngageMedia
• และเงินบริจาคจากบุคคลธรรมดาอีกจำนวนหนึ่ง
คณะทำงานปัจจุบัน
• ลลิตา รังสรรค์วิวัฒน์ ผู้ประสานงานเครือข่าย
• พินดา พิสิฐบุตร เจ้าหน้าที่สิทธิดิจิทัล
• ภายใต้คำแนะนำจากคณะกรรมการมูลนิธิ ซึ่งมี
สฤณี อาชวานันทกุล เป็นประธาน และมี
อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล เป็นเลขานุการ
กิจกรรม
• ติดตามสถานการณ์สิทธิดิจิทัล
• เข้าร่วมในกระบวนการด้านนโยบายทั้ง
ระดับประเทศและระหว่างประเทศ
• จัดสัมมนา อบรม และพบปะอย่างไม่
เป็นทางการกับชุมชนผู้ใช้เน็ต และจัด
ประชุมกึ่งวิชาการประจำปี
• ให้คำปรึกษาด้านเทคโนโลยีกับกลุ่ม
ประชาสังคมและนักกฎหมายสิทธิ
• เผยแพร่ข่าวสารบนเว็บไซต์และสิ่ง
พิมพ์ จัดทำและแปลเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ตัวอย่างกิจกรรม
ติดตามและเสนอนโยบาย
• ติดตามและจัดทำข้อเสนอสู่
สาธารณะ และร่วมเป็นคณะทำงาน
ตามความเหมาะสม
• การแก้ไขพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระ
ทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
โดยเฉพาะประเด็นความรับผิดของตัวกลาง
(intermediary liability) การควบคุมเนื้อหา และ
การใช้เป็นกฎหมายหมิ่นประมาท
• ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
• ชุดกฎหมายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ-
สังคมและความมั่นคงไซเบอร์
โรงเรียนพ(ล)บค่ำ
• Night School เป็นโครงการความร่วม
มือกับห้องสมุดศิลปะ

The Reading Room Bangkok
• บรรยาย+กิจกรรมระหว่างผู้เข้าร่วม
• แลกเปลี่ยนมุมมองถึงความเปลี่ยนแปลง
ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย โดย
เฉพาะประเด็นการแสดงออก ทรัพย์สิน
ทางปัญญา สื่อใหม่ ขบวนการทางสังคม
และมีเดียอาร์ต
• ได้รับเชิญให้เข้าร่วมเทศกาลศิลปะ
Kunstvlaai: Festival of
Independents ที่อัมสเตอร์ดัม (2011)
พฤหัด
• ThursDIY เป็นกิจกรรมแลกเปลี่ยน
ทักษะออนไลน์ โดยเน้นไปที่ทักษะ
การสร้างข้อมูลพื้นฐานในรูปแบบโอ
เพนซอร์ส และการรักษาข้อมูลส่วน
บุคคล
• ตัวอย่างเนื้อหา: การทำข้อมูลแผนที่
ด้วย OpenStreetMap, การเขียนวิกิ
พีเดีย, การแปลคำบรรยายวิดีโอ
ออนไลน์ด้วย Amara, การใช้งาน
อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย
• ขยายการอบรมวิกิพีเดียและ
OpenStreetMap ไปยัง
มหาวิทยาลัย (ศิลปากร, ธรรมศาสตร์)
คู่มือสื่อพลเมือง
• คู่มือสื่อพลเมือง ความรู้และข้อ
แนะนำเบื้องต้นเพื่อให้พลเมืองทำ
สื่อเองได้ อย่างมีคุณภาพและ
ความรับผิดชอบ
• เนื้อหา: ภาษาและเครื่องมือของสื่อ
พลเมือง, เทคนิคการเผยแพร่,
จริยธรรมของสื่อพลเมือง, ข้อ
แนะนำด้านกฎหมาย, กรณีศึกษา
จากต่างประเทศ
• พิมพ์ 1,000 เล่ม (2010)
“มาราธอน”
• มาราธอน: อินเทอร์เน็ต การเมือง
วัฒนธรรม รวบรวมบทความ
วิชาการ งานแปล และบันทึก
เสวนาที่จัดโดยเครือข่ายพลเมือง
เน็ต
• เนื้อหาครอบคลุมประเด็นด้าน
กฎหมาย มานุษยวิทยา วัฒนธรรม
ศึกษา ศิลปะ การเมืองระหว่าง
ประเทศ วิทยาการคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมศาสตร์ สื่อใหม่
• พิมพ์ 2,000 เล่ม (2012)
คู่มือพลเมืองเน็ต
• คู่มือพลเมืองเน็ต รวบรวมคำแนะนำ
ให้ผู้ใช้เน็ตเข้าใจการทำงานของ
อินเทอร์เน็ต และรักษาสิทธิและความ
ปลอดภัยตัวเองได้
• เนื้อหา: อินเทอร์เน็ตทำงานอย่างไร,
การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย,
ความเป็นส่วนตัวกับสื่อสังคม, ความรู้
เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายคอมพิวเตอร์
และทรัพย์สินทางปัญญา, สิทธิใน
ความเป็นส่วนตัวที่ผู้บริโภคควรรู้
• พิมพ์ 3 ครั้ง รวม 6,000 เล่ม (2013)
GIS Watch
• Global Information Society Watch
เป็นรายงานประจำปีที่สำรวจความ
เปลี่ยนแปลงของสังคมสารสนเทศทั่วโลก
จัดพิมพ์โดย Association for
Progressive Communications
• เปลี่ยนหัวข้อหลักทุกปี เช่น อินเทอร์เน็ต
และการคอรัปชัน เพศสถานะและไอซีที
สิทธิอินเทอร์เน็ตและกระบวนการ
ประชาธิปไตย
• แบ่งเป็นสองส่วน: วิเคราะห์เชิงประเด็นใน
ภาพรวม และรายงานวิจัยรายประเทศ
• เครือข่ายพลเมืองเน็ตเขียนรายงานส่วน
ของประเทศไทยตั้งแต่ปี 2011
รายงานพลเมืองเน็ต
• รายงานพลเมืองเน็ต (Netizen
Report) รายงานประจำปี รวบรวม
สถานการณ์สิทธิเสรีภาพด้านข้อมูล
ข่าวสาร นโยบายของภาครัฐต่อ
อินเทอร์เน็ต และปรากฏการณ์น่า
สนใจทางวัฒนธรรมออนไลน์
• จัดทำเป็นภาษาไทยและแปลเป็น
ภาษาอังกฤษ ต่อเนื่องทุกปีตั้งแต่ปี
2010
งานวิจัย
• ราคาของการเซ็นเซอร์ : มุมมอง
ทางเศรษฐศาสตร์ (2012) ร่วมกับ
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
• สำรวจมาตรการรักษาความ
ปลอดภัยและการคุ้มครองความ
เป็นส่วนตัวของผู้ให้บริการ
ออนไลน์ไทย (2013-2014) ร่วมกับ
Privacy International
แปลเอกสารและสื่อที่สำคัญ
• คำประกาศ: 10 สิทธิและหลักการอินเทอร์เน็ต
• หลักการมะนิลาว่าด้วยความรับผิดของสื่อ
ตัวกลาง
• หลักการระหว่างประเทศว่าด้วยการใช้หลักสิทธิ
มนุษยชนกับการสอดแนมการสื่อสาร
• สิทธิความเป็นส่วนตัวในยุคดิจิทัล – รายงานของ
สำนักงานข้าหลวงใหญ่ด้านสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
• ผลกระทบของการสอดแนมการสื่อสารโดยรัฐต่อ
การใช้สิทธิมนุษยชนเพื่อเข้าถึงความเป็นส่วนตัว
และเสรีภาพด้านความเห็นและการแสดงออก –
รายงานของผู้รายงานพิเศษว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและ
เสรีภาพด้านความเห็นและการแสดงออก แฟรงค์ ลารัว
• คลิป บทความ และหนังสือ
อบรมให้ความรู้ด้านกฎหมายและ
นโยบายอินเทอร์เน็ต
• โครงการอบรมการสู้คดีคอมพิวเตอร์ ร่วม
กับสมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน
(HRLA) และโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อ
กฎหมายประชาชน (iLaw) ให้ความรู้
ด้านการใช้หลักฐานทางอิเล็กทรอนิกส์
• โครงการ “โรงเรียนพลเมืองเน็ต” ให้
ความรู้ด้านการอภิบาลอินเทอร์เน็ต
(Internet governance) กับนักศึกษาปี
สุดท้ายและกลุ่มคนเริ่มทำงาน
• โครงการบรรยายสาธารณะเรื่องหลักฐาน
พยานทางอิเล็กทรอนิกส์ ร่วมกับ iLaw
และศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน
(TLHR)
ประชุมประจำปี
• 2012- การประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและ
สิทธิพลเมืองครั้งที่ 1 ร่วมกับไทยพีบีเอสและ
สมาคมสื่อมวลชนแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
• 2013 - การประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและ
สิทธิพลเมืองครั้งที่ 2 ร่วมกับคณะนิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
• 2014 - สัมมนาสาธารณะว่าด้วย
เทคโนโลยีและสังคม ร่วมกับคณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
• 2015 - เวทีประชาสังคมไทยว่าด้วยการ
อภิบาลอินเทอร์เน็ต ร่วมกับกลุ่มองค์กรภาคประชา
สังคมและมหาวิทยาลัย
• 2015 (23 ก.ค.) - เวทีระดับชาติว่าด้วย
การอภิบาลอินเทอร์เน็ตของไทย ร่วมกับกลุ่ม
องค์กรผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม
และวิชาการ
โครงการปัจจุบัน (2014-2015)
• โครงการสนับสนุนการมีส่วนร่วม
ร่วมในอภิบาลอินเทอร์เน็ต
(Internet Governance) ส่งเสริม
การมีส่วนร่วมในการออกแบบนโยบาย โดยส่ง
เสริมให้เกิดเวทีพูดคุยที่มีหลายผู้มีส่วนได้ส่วน
เสีย (multistakeholders) ในลักษณะ Internet
Governance Forum เช่นเดียวกับหลายประเทศ
และจัดทำเอกสารข้อมูลและหลักการที่เกี่ยวข้อง
• โครงการจัดทำเอกสารความรู้ด้าน
นิติวิทยาศาสตร์ดิจิทัล (Digital
Forensics) ส่งเสริมการพัฒนามาตรฐาน
ของกระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวข้องกับสิทธิดิจิทัล
เพื่อเป็นพื้นฐานในการให้ความรู้กับนักกฎหมาย
และนักสิทธิมนุษยชน
ติดต่อ
contact@thainetizen.org



Facebook: Thai Netizen Network
Twitter: @thainetizen
Website: netizen.or.th
Blog: netizen.cc
–Scott Cook
“We're still in the first minutes of the first day of
the Internet revolution.”
–Tim Berners-Lee
“There was a time when people felt the internet
was another world, but now people realise it's a
tool that we use in this world.”
–Bill Gates
“The Internet is becoming the town square for
the global village of tomorrow.”
–Noam Chomsky
“The internet could be a very positive step
towards education, organisation and
participation in a meaningful society.”

More Related Content

แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง (เครือข่ายพลเมืองเน็ต)

  • 3. ข้อมูลองค์กร • องค์กรไม่แสวงกำไร ดำเนินงานเพื่อ คุ้มครองสิทธิพลเมืองที่เกี่ยวกับ เทคโนโลยีและสารสนเทศ • ก่อตั้งในชื่อ “เครือข่ายพลเมือง เน็ต” (Thai Netizen Network) เมื่อ ธ.ค. 2008 ในสภาพแวดล้อมที่รัฐเริ่ม เข้มงวดกับการควบคุมอินเทอร์เน็ต เป็น ช่วงแรกของการใช้พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ • จดทะเบียน “มูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและ วัฒนธรรมพลเมือง” (Foundation for Internet and Civic Culture) เมื่อ 28 พ.ค. 2014 -- ทะเบียนเลขที่ กท 2445
  • 4. วัตถุประสงค์ของมูลนิธิ • ส่งเสริมการศึกษาวิจัยด้าน เทคโนโลยี สังคม วัฒนธรรม • ส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การสร้างความรู้ การมีส่วนร่วมของ พลเมือง • ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ ของประชาชน
  • 5. ทุนดำเนินงาน • Media Legal Defence Initiative (ธ.ค. 2008 - พ.ค. 2009) • มูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ (HBF) (2009-2012) • Privacy International (2013-2014) • สมาคมเครือข่ายสื่อมวลชนในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ (SEAPA) (ต.ค. 2013 - ธ.ค. 2015) • Open Society Foundation (2014) • Fund for Global Human Rights (2015) • ทุนโครงการระยะสั้น (1-6 เดือน) เช่นจาก Internews, EngageMedia • และเงินบริจาคจากบุคคลธรรมดาอีกจำนวนหนึ่ง
  • 6. คณะทำงานปัจจุบัน • ลลิตา รังสรรค์วิวัฒน์ ผู้ประสานงานเครือข่าย • พินดา พิสิฐบุตร เจ้าหน้าที่สิทธิดิจิทัล • ภายใต้คำแนะนำจากคณะกรรมการมูลนิธิ ซึ่งมี สฤณี อาชวานันทกุล เป็นประธาน และมี อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล เป็นเลขานุการ
  • 7. กิจกรรม • ติดตามสถานการณ์สิทธิดิจิทัล • เข้าร่วมในกระบวนการด้านนโยบายทั้ง ระดับประเทศและระหว่างประเทศ • จัดสัมมนา อบรม และพบปะอย่างไม่ เป็นทางการกับชุมชนผู้ใช้เน็ต และจัด ประชุมกึ่งวิชาการประจำปี • ให้คำปรึกษาด้านเทคโนโลยีกับกลุ่ม ประชาสังคมและนักกฎหมายสิทธิ • เผยแพร่ข่าวสารบนเว็บไซต์และสิ่ง พิมพ์ จัดทำและแปลเอกสารที่เกี่ยวข้อง
  • 9. ติดตามและเสนอนโยบาย • ติดตามและจัดทำข้อเสนอสู่ สาธารณะ และร่วมเป็นคณะทำงาน ตามความเหมาะสม • การแก้ไขพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระ ทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะประเด็นความรับผิดของตัวกลาง (intermediary liability) การควบคุมเนื้อหา และ การใช้เป็นกฎหมายหมิ่นประมาท • ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล • ชุดกฎหมายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ- สังคมและความมั่นคงไซเบอร์
  • 10. โรงเรียนพ(ล)บค่ำ • Night School เป็นโครงการความร่วม มือกับห้องสมุดศิลปะ
 The Reading Room Bangkok • บรรยาย+กิจกรรมระหว่างผู้เข้าร่วม • แลกเปลี่ยนมุมมองถึงความเปลี่ยนแปลง ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย โดย เฉพาะประเด็นการแสดงออก ทรัพย์สิน ทางปัญญา สื่อใหม่ ขบวนการทางสังคม และมีเดียอาร์ต • ได้รับเชิญให้เข้าร่วมเทศกาลศิลปะ Kunstvlaai: Festival of Independents ที่อัมสเตอร์ดัม (2011)
  • 11. พฤหัด • ThursDIY เป็นกิจกรรมแลกเปลี่ยน ทักษะออนไลน์ โดยเน้นไปที่ทักษะ การสร้างข้อมูลพื้นฐานในรูปแบบโอ เพนซอร์ส และการรักษาข้อมูลส่วน บุคคล • ตัวอย่างเนื้อหา: การทำข้อมูลแผนที่ ด้วย OpenStreetMap, การเขียนวิกิ พีเดีย, การแปลคำบรรยายวิดีโอ ออนไลน์ด้วย Amara, การใช้งาน อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย • ขยายการอบรมวิกิพีเดียและ OpenStreetMap ไปยัง มหาวิทยาลัย (ศิลปากร, ธรรมศาสตร์)
  • 12. คู่มือสื่อพลเมือง • คู่มือสื่อพลเมือง ความรู้และข้อ แนะนำเบื้องต้นเพื่อให้พลเมืองทำ สื่อเองได้ อย่างมีคุณภาพและ ความรับผิดชอบ • เนื้อหา: ภาษาและเครื่องมือของสื่อ พลเมือง, เทคนิคการเผยแพร่, จริยธรรมของสื่อพลเมือง, ข้อ แนะนำด้านกฎหมาย, กรณีศึกษา จากต่างประเทศ • พิมพ์ 1,000 เล่ม (2010)
  • 13. “มาราธอน” • มาราธอน: อินเทอร์เน็ต การเมือง วัฒนธรรม รวบรวมบทความ วิชาการ งานแปล และบันทึก เสวนาที่จัดโดยเครือข่ายพลเมือง เน็ต • เนื้อหาครอบคลุมประเด็นด้าน กฎหมาย มานุษยวิทยา วัฒนธรรม ศึกษา ศิลปะ การเมืองระหว่าง ประเทศ วิทยาการคอมพิวเตอร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ สื่อใหม่ • พิมพ์ 2,000 เล่ม (2012)
  • 14. คู่มือพลเมืองเน็ต • คู่มือพลเมืองเน็ต รวบรวมคำแนะนำ ให้ผู้ใช้เน็ตเข้าใจการทำงานของ อินเทอร์เน็ต และรักษาสิทธิและความ ปลอดภัยตัวเองได้ • เนื้อหา: อินเทอร์เน็ตทำงานอย่างไร, การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย, ความเป็นส่วนตัวกับสื่อสังคม, ความรู้ เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายคอมพิวเตอร์ และทรัพย์สินทางปัญญา, สิทธิใน ความเป็นส่วนตัวที่ผู้บริโภคควรรู้ • พิมพ์ 3 ครั้ง รวม 6,000 เล่ม (2013)
  • 15. GIS Watch • Global Information Society Watch เป็นรายงานประจำปีที่สำรวจความ เปลี่ยนแปลงของสังคมสารสนเทศทั่วโลก จัดพิมพ์โดย Association for Progressive Communications • เปลี่ยนหัวข้อหลักทุกปี เช่น อินเทอร์เน็ต และการคอรัปชัน เพศสถานะและไอซีที สิทธิอินเทอร์เน็ตและกระบวนการ ประชาธิปไตย • แบ่งเป็นสองส่วน: วิเคราะห์เชิงประเด็นใน ภาพรวม และรายงานวิจัยรายประเทศ • เครือข่ายพลเมืองเน็ตเขียนรายงานส่วน ของประเทศไทยตั้งแต่ปี 2011
  • 16. รายงานพลเมืองเน็ต • รายงานพลเมืองเน็ต (Netizen Report) รายงานประจำปี รวบรวม สถานการณ์สิทธิเสรีภาพด้านข้อมูล ข่าวสาร นโยบายของภาครัฐต่อ อินเทอร์เน็ต และปรากฏการณ์น่า สนใจทางวัฒนธรรมออนไลน์ • จัดทำเป็นภาษาไทยและแปลเป็น ภาษาอังกฤษ ต่อเนื่องทุกปีตั้งแต่ปี 2010
  • 17. งานวิจัย • ราคาของการเซ็นเซอร์ : มุมมอง ทางเศรษฐศาสตร์ (2012) ร่วมกับ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • สำรวจมาตรการรักษาความ ปลอดภัยและการคุ้มครองความ เป็นส่วนตัวของผู้ให้บริการ ออนไลน์ไทย (2013-2014) ร่วมกับ Privacy International
  • 18. แปลเอกสารและสื่อที่สำคัญ • คำประกาศ: 10 สิทธิและหลักการอินเทอร์เน็ต • หลักการมะนิลาว่าด้วยความรับผิดของสื่อ ตัวกลาง • หลักการระหว่างประเทศว่าด้วยการใช้หลักสิทธิ มนุษยชนกับการสอดแนมการสื่อสาร • สิทธิความเป็นส่วนตัวในยุคดิจิทัล – รายงานของ สำนักงานข้าหลวงใหญ่ด้านสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ • ผลกระทบของการสอดแนมการสื่อสารโดยรัฐต่อ การใช้สิทธิมนุษยชนเพื่อเข้าถึงความเป็นส่วนตัว และเสรีภาพด้านความเห็นและการแสดงออก – รายงานของผู้รายงานพิเศษว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและ เสรีภาพด้านความเห็นและการแสดงออก แฟรงค์ ลารัว • คลิป บทความ และหนังสือ
  • 19. อบรมให้ความรู้ด้านกฎหมายและ นโยบายอินเทอร์เน็ต • โครงการอบรมการสู้คดีคอมพิวเตอร์ ร่วม กับสมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน (HRLA) และโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อ กฎหมายประชาชน (iLaw) ให้ความรู้ ด้านการใช้หลักฐานทางอิเล็กทรอนิกส์ • โครงการ “โรงเรียนพลเมืองเน็ต” ให้ ความรู้ด้านการอภิบาลอินเทอร์เน็ต (Internet governance) กับนักศึกษาปี สุดท้ายและกลุ่มคนเริ่มทำงาน • โครงการบรรยายสาธารณะเรื่องหลักฐาน พยานทางอิเล็กทรอนิกส์ ร่วมกับ iLaw และศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน (TLHR)
  • 20. ประชุมประจำปี • 2012- การประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและ สิทธิพลเมืองครั้งที่ 1 ร่วมกับไทยพีบีเอสและ สมาคมสื่อมวลชนแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ • 2013 - การประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและ สิทธิพลเมืองครั้งที่ 2 ร่วมกับคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย • 2014 - สัมมนาสาธารณะว่าด้วย เทคโนโลยีและสังคม ร่วมกับคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • 2015 - เวทีประชาสังคมไทยว่าด้วยการ อภิบาลอินเทอร์เน็ต ร่วมกับกลุ่มองค์กรภาคประชา สังคมและมหาวิทยาลัย • 2015 (23 ก.ค.) - เวทีระดับชาติว่าด้วย การอภิบาลอินเทอร์เน็ตของไทย ร่วมกับกลุ่ม องค์กรผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และวิชาการ
  • 21. โครงการปัจจุบัน (2014-2015) • โครงการสนับสนุนการมีส่วนร่วม ร่วมในอภิบาลอินเทอร์เน็ต (Internet Governance) ส่งเสริม การมีส่วนร่วมในการออกแบบนโยบาย โดยส่ง เสริมให้เกิดเวทีพูดคุยที่มีหลายผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย (multistakeholders) ในลักษณะ Internet Governance Forum เช่นเดียวกับหลายประเทศ และจัดทำเอกสารข้อมูลและหลักการที่เกี่ยวข้อง • โครงการจัดทำเอกสารความรู้ด้าน นิติวิทยาศาสตร์ดิจิทัล (Digital Forensics) ส่งเสริมการพัฒนามาตรฐาน ของกระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวข้องกับสิทธิดิจิทัล เพื่อเป็นพื้นฐานในการให้ความรู้กับนักกฎหมาย และนักสิทธิมนุษยชน
  • 22. ติดต่อ contact@thainetizen.org
 
 Facebook: Thai Netizen Network Twitter: @thainetizen Website: netizen.or.th Blog: netizen.cc
  • 23. –Scott Cook “We're still in the first minutes of the first day of the Internet revolution.”
  • 24. –Tim Berners-Lee “There was a time when people felt the internet was another world, but now people realise it's a tool that we use in this world.”
  • 25. –Bill Gates “The Internet is becoming the town square for the global village of tomorrow.”
  • 26. –Noam Chomsky “The internet could be a very positive step towards education, organisation and participation in a meaningful society.”