ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ลำึϸบྺั้ȨระบวȨำร๶รียนรู้
ความหมายของการบวนการเรียนรู้
เกรกอร์รี่ เอ. คิมเบิล (Gregory A. Kimble) ได้กล่าวว่า
การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงศักยภาพแห่งพฤติกรรมที่ค่อนข้าง
ถาวร ซึ่งเป็นผลมาจากการฝึกหรือการปฏิบัติที่ได้รับ การเสริมแรง
ลาดับขั้นในกระบวนการเรียนรู้
จอร์จ เจ. มูลลีย์ (George J. Mouly) กาหนด
ลาดับขั้นในกระบวนการเรียนรู้ไว้ ๗ ขั้น ดังนี้
ลาดับขั้นในกระบวนการเรียนรู้(ต่อ)
1) เกิดแรงจูงใจ (Motivation) แรงจูงใจมีผลให้แต่ละ
คนไวต่อการสัมผัสสิ่งเร้าแตกต่างกันเป็นสิ่งที่จะกาหนด ทิศทาง
และความเข้มของพฤติกรรมและเป็นสิ่งจาเป็นเบื้องต้นสาหรับการ
เรียนรู้
ลาดับขั้นในกระบวนการเรียนรู้(ต่อ)
2) กาหนดเป้ าประสงค์ (Goal) เมื่อมีแรงจูงใจเกิดขึ้นแต่
ละบุคคลก็จะกาหนดเป้ าประสงค์ที่จะก่อให้เกิดความพึงพอใจ
ลาดับขั้นในกระบวนการเรียนรู้(ต่อ)
3) เกิดความพร้อม (Readiness) คน แต่ละคนมีขีด
ความสามารถที่จะรับ และความต้องการพื้นฐานเพื่อหาสิ่งที่จะสนอง
ความต้องการได้จากัดและแตกต่างกันไปตามสภาพความพร้อมของ
แต่ละบุคคล เรื่องของความพร้อมนี้นับว่าเป็นสิ่งจาเป็นมากที่จะต้องดี
ก่อนที่จะเกิดการเรียนรู้
ลาดับขั้นในกระบวนการเรียนรู้(ต่อ)
4) มีอุปสรรค (Obstacle) อุปสรรค จะเป็นสิ่งขวางกั้นระหว่าง
พฤติกรรมที่เกิดจากแรงจูงใจกับเป้ าประสงค์ ถ้าหากไม่มีอุปสรรค์หรือสิ่ง
กีดขวางเราก็จะไปถึงเป้ าประสงค์ได้โดยง่าย ซึ่งเราก็ถือว่าสภาพการณ์
เช่นนี้ไม่ได้ช่วยให้เกิดความต้องการที่จะแก้ปัญหาและเรียนรู้
ลาดับขั้นในกระบวนการเรียนรู้(ต่อ)
5) การตอบสนอง (Response) เมื่อ บุคคลมีแรงจูงใจ มี
เป้ าประสงค์ เกิดความพร้อม และเผชิญกับอุปสรรคเข้าก็จะมีพฤติกรรม
ต่าง ๆ เกิดขึ้น พฤติกรรมนั้นอาจเริ่มด้วยการตัดสินใจ เกิดอาการ
ตอบสนองที่เหมาะสมทดลองทาแล้วปรับปรุงแก้ไขการตอบสนองนั้นให้
แก้ปัญหาได้ดี ที่สุด ซึ่งแนวทางของการตอบสนองอาจมุ่งสู่เป้ าประสงค์
โดยตรงหรือโดยทางอ้อมอย่างใดอย่างหนึ่ง
ลาดับขั้นในกระบวนการเรียนรู้(ต่อ)
6) การเสริมแรง (Reinforcement) การ เสริมแรงก็หมายถึง
การได้รางวัลหรือให้สิ่งเร้าที่ก่อให้เกิดความพอใจ ซึ่งปกติผู้เรียนจะได้รับ
หลังจากที่ตอบสนองแล้ว ตัวเสริมแรงไม่จาเป็นต้องเป็นสิ่งของหรือวัตถุที่
มองเห็นได้เสมอไปเพราะความสาเร็จ ความรู้ ความก้าวหน้า ฯลฯ ก็เป็นตัว
เสริมแรงได้เช่นเดียวกัน
ลาดับขั้นในกระบวนการเรียนรู้(ต่อ)
7) การสรุปความเหมือน (Generalization) หลัง จากที่
ผู้เรียนสามารถตอบสนองหรือหาวิธีการที่จะมุ่งสู่เป้ าประสงค์ได้แล้ว เขาก็
อาจจะประสงค์ใช้กับปัญหาหรือสถานการณ์ที่จะพบในอนาคตได้นั้นก็
แสดงว่า ผู้เรียนเกิดความสามารถที่จะสรุปความเหมือนระหว่าง
สถานการณ์การเรียนรู้ที่ มีมาก่อนกับปัญหาหรือสถานการณ์ที่เพิ่งจะพบ
ใหม่ ซึ่งเป็นการขยายขอบเขตของพฤติกรรม การเรียนรู้ให้กว้างขวาง
ออกไป
บรรณานุกรม
• http://suriya4.blogspot.com/
• http://pee544189050.blogspot.com/p/blog-
page.html
• http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/
Learning_Process.htm
จัดทาโดย
นายสินธกานต์ สระทอง 5615871032

More Related Content

ลำึϸบྺั้ȨระบวȨาร๶รียนรู้