ݺߣ
Submit Search
ผังงาน
•
Download as PPTX, PDF
•
0 likes
•
1,167 views
ป
ปณพล ดาดวง
Follow
ผังงานในการเขียนโปรแกรม
Read less
Read more
1 of 29
Download now
Download to read offline
More Related Content
ผังงาน
1.
ผังงาน (Flowcharting) จัดทาโดย นายปณพล ดาดวง สคพ.2
เลขที่ 5
2.
ความหมายของผังงาน ผังงาน (Flowchart) คือ
รูปภาพ (Image) หรือสัญลักษณ์(Symbol) ที่ใช้เขียนแทนขั้นตอน คาอธิบาย ข้อความ หรือคาพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนาเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่าง ผู้เ กี่ ย ว ข้ อ ง ด้ ว ย ค า พู ด ห รื อ ข้ อ ค ว า ม ท า ไ ด้ ย า ก ก ว่ า ผังงาน เป็นเครื่องมือแสดงขั้นตอน หรือกระบวนการทางาน โดย ใช้สัญลักษณ์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งในสัญลักษณ์จะมีข้อความสั้น ๆ อธิบายข้อมูลที่ต้องใช้ ผลลัพธ์ หรือคาสั่งประมวลผลของขั้นตอนนั้น ๆ และเชื่อมโยงขั้นตอนเหล่านั้นด้วยเส้นที่มีลูกศรชี้ทิศทางการทางานตั้งแต่ เริ่มต้นจนจบกระบวนการ
3.
ผังงานแบ่งได้ 2 ประเภท 1.
ผังงานระบบ (System Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทางานในระบบอย่างกว้าง ๆ แต่ไม่ เจาะลงในระบบงานย่อย 2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทางานของโปรแกรม ตั้งแต่รับ ข้อมูล คานวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์
4.
การโปรแกรมโครงสร้าง ประกอบด้วย ทุกภาษาต้องมีหลักการ 3
อย่างนี้คือ การทางานแบบตามลาดับ (Sequence) การเลือกกระทาตามเงื่อนไข(Decision) และ การทาซ้า(Loop) แม้ ตาราหลาย ๆ เล่มจะบอกว่า decision แยกเป็น if กับ case หรือ loop นั้นยัง แยกเป็น while และ until ซึ่งแตกต่างกัน แต่ผมก็ยังนับว่าการเขียนโปรแกรม แบบมีโครงสร้างนั้น มองให้ออกแค่ 3 อย่างก็พอแล้ว และหลายท่านอาจเถียง ผมว่าบางภาษาไม่จาเป็นต้องใช้ Structure Programming แต่เท่าที่ผมศึกษามา ยังไม่มีภาษาใด เลิกใช้หลักการทั้ง 3 นี้อย่างสิ้นเชิง เช่น MS Access ที่หลาย คนบอกว่าง่าย ซึ่งก็อาจจะง่ายจริง ถ้าจะศึกษาเพื่อสั่งให้ทางานตาม wizard หรือตามที่เขาออกแบบมาให้ใช้ แต่ถ้าจะนามาใช้งานจริง ตามความต้องการ ของผู้ใช้แล้ว ต้องใช้ประสบการณ์ในการเขียน Structure Programming เพื่อ สร้าง Module สาหรับควบคุม Object ทั้งหมดให้ทางานประสานกัน
5.
1. การทางานแบบตามลาดับ (Sequence) รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดคือ
เขียนให้ทางานจาก บนลงล่าง เขียนคาสั่งเป็นบรรทัด และทาทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุด ลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการทางาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คานวณ และพิมพ์
6.
2. การเลือกกระทาตามเงื่อนไข (Decision
or Selection) การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ เขียนโปรแกรมเพื่อนาค่าไป เลือกกระทา โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทา 2 กระบวนการ คือเงื่อนไข เป็ นจริงจะกระทากระบวนการหนึ่ง และเป็ นเท็จจะกระทาอีก กระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่น การตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผลการเลือก อย่างง่าย เพื่อกระทากระบวนการเพียงกระบวนการเดียว
7.
3. การทาซ้า (Repeation
or Loop) การทากระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม หมายถึงการทาซ้าเป็นหลักการที่ทาความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือน การเขียนผังงาน ผู้เขียนโปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง
8.
สัญลักษณ์ผังงาน
9.
กระบวนการ หรือกระบวนการหลัก หรือการปฏิบัติการ กระบวนการ
หรือกระบวนการหลัก หรือการปฏิบัติการ เช่น การ คานวณ บวก ลบ คุณ หาร ซึ่งอาจมีได้หลายกิจกรรมย่อยในหนึ่ง กระบวนการหลัก และอาจมีกระบวนการย่อยที่ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จ จึงจะทาให้กระบวนการหลักบรรลุตามวัตถุประสงค์ เช่น การคานวณ โบนัสประจาปีของบริษัท การคานวณผลการเรียนเฉลี่ยของนักศึกษาในแต่ ละภาคเรียน
10.
กระบวนการทางเลือก กระบวนการทางเลือก อาจถูกใช้ในความหมายเดียวกับ กระบวนการหลัก มักใช้เป็
นกระบวนการที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ (automated activity) และอาจใช้เส้นประในการเข้าถึงกระบวนการ ทางเลือก
11.
การดาเนินการพิจารณาคาตอบของคาถาม(question) การดาเนินการพิจารณาคาตอบของคาถาม (question) เพื่อ ตอบการเลือกและดาเนินการตามการเลือก
ซึ่งคาตอบมักมี 2 ทางคือ yes กับ no เพื่อส่งต่อการทางานไปยังเส้นทางใหม่ คือเส้นทางหลัก เลือก yes และเส้นทางหลังเลือก no
12.
นาเสนอข้อมูลจากแหล่งข้อมูล นาเสนอข้อมูลจากแหล่งข้อมูล เช่น
อีเมล์ คาสั่งซื้อ รายงาน
13.
กระบวนการย่อย (Subroutine) กระบวนการย่อย
(Subroutine) ที่จะประกาศไว้ก่อน เมื่อนามารวมกันก็ จะกลายเป็นกระบวนการหลัก และกระบวนการย่อยก็อาจมี กระบวนการย่อยลงไปอีก เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ เช่น กระบวนการคานวณเงินเดือน อาจมีกระบวนการย่อย คานวณภาษี ขาด ลา สาย โบนัส ค่าล่วงเวลา ค่านายหน้า เป็นต้น
14.
นาเสนอข้อมูลจากแหล่งข้อมูลในหน่วยความจา (memory)
15.
นาเสนอข้อมูลในรูปของเอกสารที่ถูกพิมพ์(printed document)
16.
นาเสนอข้อมูลในรูปของเอกสารที่ถูกพิมพ์ (printed document) จานวนหลายรายการ
17.
แทนจุดเริ่มต้น แทนจุดเริ่มต้น หรือจุดสิ้นสุดของกระบวนการ
หรือผังงาน ทั้งหมด
18.
กิจกรรมที่แทนการติดตั้ง กิจกรรมที่แทนการติดตั้ง การเตรียมการ
ก่อนกระบวนการจะ เกิดขึ้น หรือประมวลผล
19.
การเตรียมข้อมูลแบบแมนวล (manual) การเตรียมข้อมูลแบบแมนวล
(manual) อาจหมายถึงการรับ ข้อมูลผ่านแป้นพิมพ์
20.
กระบวนการแบบแมนวล (manual) กระบวนการแบบแมนวล
(manual) คือการดาเนินการด้วยมือ ตรงข้ามกับการดาเนินการอัตโนมัติ เช่น การนับเหรียญสตางค์ ของธนาคาร การนาเงินเข้าฝากธนาคารผ่านเคาท์เตอร์
21.
จุดเชื่อมต่อ จุดเชื่อมต่อจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งของผังงานในหน้าเดียวกัน โดยไม่ต้องมีการลากเส้น แต่ใช้การอ้างอิง
22.
ผังงานในหน้าอื่นจุดเชื่อมต่อ จุดเชื่อมต่อจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งของผังงานในหน้าอื่น
23.
การ์ดข้อมูลที่ส่งเข้าคอมพิวเตอร์ การ์ดข้อมูลที่ส่งเข้าคอมพิวเตอร์ เป็น
punch card ที่ใช้กับเครื่อง ของบริษัท IBM ซึ่งไม่ถูกใช้งานแล้วในปัจจุบัน
24.
เทปกระดาษ เทปกระดาษ เป็นสื่อเก็บข้อมูลที่ส่งเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ รุ่นเก่า
25.
AND สัญลักษณ์แสดงการรวมสายกระบวนการเข้ามา และออกไป กระบวนการเดียว
มักเป็นสัญลักษณ์ของ AND
26.
OR สัญลักษณ์ที่รับเข้ามาทางหนึ่ง แล้วสามารถส่งออกไปได้หลาย กระบวนการ
มักเป็นสัญลักษณ์ของ OR
27.
ตัวอย่างของ พังงาน โจทย์ที่ 1 -
พิมพ์เลข 0 ถึง 4 ทางจอภาพ ตัวอย่างผังงาน
28.
โจทย์ที่ 2 - รับค่าจากแป้
นพิมพ์เก็บลงตัวแปรอาร์เรย์ 5 ตัว - แล้วทาซ้าอีกครั้ง เพื่อหาค่าสูงสุด
Download