ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลฉบับย่อ วิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต หน้า 1
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ ฉบับย่อ
รายวิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต จานวนหน่วยกิต 1 หน่วยกิต เวลาเรียน 2 คาบ / สัปดาห์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
อาจารย์ผู้สอน 1.นายมานนท์ ผสมสัตย์ 2.นายชัยนันท์ วันอินทร์ 3.นางปภากร วงศ์ศิลปกุล

1. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาความหมาย ขอบข่ายของสุนทรียศาสตร์และเข้าใจความงามที่มีอยู่ในธรรมชาติ ผลงานวิจิตรศิลป์ ศิลปะประยุกต์ ศิลปะประจาชาติ ศิลปะพื้นบ้าน
ศิลปะการแสดง ดนตรี ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว อย่างเป็นระบบด้วยหลักการและเหตุผลของวิชาสุนทรียศาสตร์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในการชื่นชมความงามที่มีอยู่ในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวมทั้งตระหนักถึงคุณค่าของ
สุนทรียศาสตร์และประยุกต์ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. สามารถวิเคราะห์ความงามที่มีอยู่ในธรรมชาติ และจากสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
2. มีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ความงามของผลงานวิจิตรศิลป์และศิลปะประยุกต์ได้
3. มีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ความงามของศิลปะประจาชาติไทยและศิลปะพื้นบ้านได้
4. มีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ความงามของศิลปะการแสดงและชื่นชมดนตรีได้
5. มีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ความงามของศิลปะภาพถ่ายและชื่นชมภาพยนตร์ได้
6. เห็นคุณค่าของวิชาสุนทรียศาสตร์และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลฉบับย่อ วิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต หน้า 2
3. กาหนดการสอนและจุดประสงค์การเรียนรู้
สัปดาห์ที่ คาบที่ หัวข้อ / สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการสอน / กิจกรรม สื่อการสอน / แหล่งเรียนรู้
1-2 1-4 ความหมายของสุนทรียศาสตร์และ
ธรรมชาติ
- ความหมายของสุนทรียศาสตร์
- สุนทรียภาพในธรรมชาติ
- มีความรู้ความเข้าใจและซาบซึ้งธรรมชาติที่
เป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ของมนุษย์
ให้นักเรียนอภิปรายและสัมผัสธรรมชาตินอก
สถานที่ พร้อมทั้งถ่ายทอดความงดงามของ
ธรรมชาติเป็นผลงานจิตรกรรม
ภาพถ่ายจากแหล่งธรรมชาติต่างๆ
/อุปกรณ์การสร้างงานจิตรกรรม
3-5 5-10 ศิลปะตะวันตกจากมุมมองของคน
ปัจจุบัน
- ศิลปะอียิปต์
- ศิลปะกรีกโรมัน
- ศิลปะเรอเนสซองส์
- ศิลปะสมัยใหม่และศิลปะวิจารณ์
- มีความซาบซึ้งในสุนทรียภาพของผลงาน
วิจิตรศิลป์ตะวันตก
- สามารถวิเคราะห์วิจารณ์ผลงานวิจิตรศิลป์
ตะวันตกได้อย่างเข้าใจ
ให้นักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับศิลปะตะวันตก
และให้นักเรียนคัดลอกผลงานศิลปินที่มี
ชื่อเสียงระดับโลกพร้อมทั้งเขียนวิจารณ์ผลงาน
ที่ตนเองคัดลอก
สไลด์ประกอบบทเรียน
อุปกรณ์การสร้างงานจิตรกรรม
6-7 11-14 ศิลปะตะวันออกจากมุมมองของคน
ปัจจุบัน
- ศิลปะอินเดีย
- ศิลปะจีน
- ศิลปะขอม
- มีความซาบซึ้งในสุนทรียภาพของผลงาน
วิจิตรศิลป์ตะวันออก
- สามารถวิเคราะห์วิจารณ์ผลงานวิจิตรศิลป์
ตะวันออกได้อย่างเข้าใจ
- อภิปรายเกี่ยวกับศิลปะตะวันออก สไลด์ประกอบบทเรียน
8-9 15-18 สุนทรียภาพถ่ายและภาพยนตร์
- สุนทรียของภาพถ่าย (องค์ประกอบ
ของการถ่ายภาพ , เทคนิควิธีการ)
- สุนทรียของภาพยนตร์ (ภาพยนตร์
ประเภทต่างๆ)
- วิจารณ์ภาพยนตร์และแรงบันดาลใจของการ
สร้างสรรค์ รวมทั้งมีความซาบซึ้งใน
สุนทรียภาพของศิลปะภาพถ่ายและภาพยนตร์
ได้อย่างเหมาะสม
- ให้นักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับศิลปะการ
ถ่ายภาพของตนเองหน้าชั้นเรียน
- ให้นักเรียนวิจารณ์ภาพยนตร์ตามเรื่องที่
ได้รับชม
ภาพถ่าย / ภาพยนตร์
10 19-20 สอบกลางภาค
( สอบในตาราง )
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลฉบับย่อ วิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต หน้า 3
สัปดาห์ที่ คาบที่ หัวข้อ / สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการสอน / กิจกรรม สื่อการสอน / แหล่งเรียนรู้
11-12 21-24 ศิลปะและวัฒนธรรมประจาชาติจาก
มุมมองของคนปัจจุบัน
- สุนทรียะกับศิลปะช่างพื้นบ้าน (ภาค
กลาง , ภาคเหนือ , ภาคใต้ , ภาคอีสาน)
- สุนทรียะกับศิลปะช่างหลวง
- มีความซาบซึ้งและตระหนักถึงคุณค่าของภูมิ
ปัญญาพื้นบ้านไทยตลอดจนความวิจิตรของ
ศิลปะช่างหลวง
- อภิปรายเกี่ยวกับศิลปะพื้นบ้านและศิลปะ
ช่างหลวงโดยให้นักเรียนสร้างผลงานตามความ
สนใจ
- ให้นักเรียนคัดลอกด้วยลายเส้นจิตรกรรม
ไทยฝาผนัง (ตามที่ตนสนใจ)
- สไลด์ประกอบบทเรียน
- อุปกรณ์ในการสร้างงาน
จิตรกรรมไทย
13-14 25-28 สุนทรียะกับผลงานศิลปะประยุกต์
- สุนทรียะกับสถาปัตยกรรม
- สุนทรียะกับนิเทศศิลป์
- สุนทรียะกับศิลปะอุตสาหกรรม
- สุนทรียะกับวัฒนธรรมการแต่งกาย
- มีความรู้ความเข้าใจในความหมายตลอดจน
สุนทรียภาพของผลงานศิลปะ ประยุกต์รวมทั้ง
วิเคราะห์หลักของการออกแบบสถาปัตยกรรม
การออกแบบสื่อโฆษณา ศิลปะอุตสาหกรรม
วิเคราะห์ถึงเหตุและผลของการออกแบบ
เครื่องแต่งกายอย่างรู้กาลเทศะและเห็นความ
งามได้อย่างมีระบบ
ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานด้านการ
ออกแบบเพื่อใช้ในงานโอกาสต่างๆ ตามที่ครู
กาหนด
ภาพถ่ายผลงานการออกแบบ/
อุปกรณ์สาหรับการออกแบบ
15-18 29-36 สุนทรียะศิลปะการแสดงและดนตรี
1.สุนทรียภาพด้านดนตรี
- กระแสดนตรีทางตะวันตก พร้อม
ตัวอย่างเพลง
- กระแสดนตรีทางตะวันออก พร้อม
ตัวอย่างเพลง
2.สุนทรียภาพด้านศิลปะการแสดง
- การสร้างสรรค์การเคลื่อนไหวร่างกาย
ตามจังหวะลีลาของเพลง
- เครื่องแต่งกายสาหรับการแสดง
- เวทีการแสดง
3.การถ่ายทอดอารมณ์ด้วยการ
สร้างสรรค์ท่าทางการเคลื่อนไหวจาก
การฟังเพลงประเภทต่างๆ
- เข้าใจและซาบซึ้งในความงามจากแนว
ทางการสร้างสรรค์ศิลปะการแสดงและดนตรี
อย่างเหมาะสมอยู่ในกรอบวัฒนธรรม
ที่ดีงามของไทย
-นักเรียนแบ่งกลุ่มอภิปรายกระแสดนตรี
ตะวันออก และตะวันตก
-นักเรียนปฏิบัติการแสดงเชิงสร้างสรรค์
-เพลง / วีดิทัศน์
-หนังสือสุนทรียศาสตร์เพื่อชีวิต
(สานักพิมพ์มศว.)
-หนังสืองานฉากละคร 1,2
(สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์)
-หนังสือการจัดแสงสาหรับเวที
(สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์)
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลฉบับย่อ วิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต หน้า 4
สัปดาห์ที่ คาบที่ หัวข้อ / สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการสอน / กิจกรรม สื่อการสอน / แหล่งเรียนรู้
19 37-38 การสร้างสรรค์และนาเสนอ
ประสบการณ์ทางความงาม
- วิธีการนาเสนอผลงาน
- เพื่อให้นักเรียนรู้จักและศึกษาหลักการ
สร้างสรรค์ วิธีการนาเสนอผลงานอย่างเป็น
ระบบ
ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า เทคนิควิธีการและ
ปฏิบัติการออกแบบ หรือ การนาเสนอการ
แสดงเชิงสร้างสรรค์ตามความสนใจ (งานกลุ่ม)
อุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
ออกแบบ
20 39-40 สัปดาห์สอบปลายภาค
( สอบนอกตาราง )
4. แผนการประเมินผลการเรียนรู้และการมอบหมายงาน
การสอนรายวิชาสุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 การประเมินผลการเรียน ดังนี้
ประเมินเป็นอัตราส่วน (ร้อยละ) ดังนี้
ร้อยละของคะแนนกลางภาค : ร้อยละของคะแนนปลายภาค = ร้อยละ 80 : ร้อยละ 20
ร้อยละของคะแนนกลางภาค = ร้อยละของคะแนนสอบก่อนกลางภาค + ร้อยละของคะแนนสอบกลางภาค + ร้อยละของคะแนนสอบหลังกลางภาค
+ ร้อยละของคะแนนจิตพิสัย
= ร้อยละ 25 + ร้อยละ 20 + ร้อยละ 25 + ร้อยละ 10
แผนการประเมินผลการเรียน คือ
4.1 ประเมินจากงานหรือการบ้านที่มอบหมาย ร้อยละ 50
4.2 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน (จิตพิสัย) ร้อยละ 10
4.3 ประเมินจากการสอบกลางภาค ร้อยละ 20
4.4 ประเมินจากการสอบปลายภาค ร้อยละ 20
รายละเอียดการประเมินผลแต่ละหัวข้อ ดังนี้
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลฉบับย่อ วิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต หน้า 5
4.1 ประเมินจากงานหรือการบ้านที่มอบหมาย (50 คะแนน)
รายการ รูปแบบของงาน
วันที่
มอบหมาย
กาหนดส่ง
เวลาที่นักเรียน
ควรใช้(นาที)
คะแนน
1. สุนทรียภาพในธรรมชาติ งานเดี่ยว
ให้นักเรียนเขียนภาพทิวทัศน์เทคนิคสีน้า
สัปดาห์ที่ 1-2
(21ต.ค.-1พ.ย.56)
21ต.ค.-1พ.ย.56 สัปดาห์
ละ 100 นาที
10
2. ศิลปะสมัยใหม่และศิลปะวิจารณ์ งานเดี่ยว
ให้นักเรียนคัดลอกผลงานศิลปินที่มี
ชื่อเสียงระดับโลกพร้อมทั้งเขียนวิจารณ์
ผลงานที่ตนเองคัดลอก
สัปดาห์ที่ 3
(4-8 พ.ย. 56)
2-6 ธ.ค. 56 สัปดาห์
ละ 100 นาที
10
3. สุนทรียภาพ ภาพถ่ายและภาพยนตร์ งานคู่
ให้นักเรียนนาเสนอผลงานการถ่ายภาพ
ของตนเองหน้าชั้นเรียน
สัปดาห์ที่ 8
(9-13 ธ.ค. 56)
9-13 ธ.ค. 56 สัปดาห์
ละ 100 นาที
5
4. สุนทรียะกับศิลปะช่างหลวง งานคู่
ให้นักเรียนคัดลอกด้วยลายเส้นจิตรกรรม
ไทยฝาผนัง (ตามที่ตนสนใจ)
สัปดาห์ที่ 11
(30ธ.ค. – 3ม.ค. 57)
6-10 ม.ค. 57 สัปดาห์
ละ 100 นาที
10
5. สุนทรียะกับนิเทศศิลป์ งานเดี่ยว
ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานด้านการ
ออกแบบเพื่อใช้ในงานโอกาสต่างๆ ตามที่
ครูกาหนด
สัปดาห์ที่ 13
(13-17 ม.ค. 57)
20-24 ม.ค. 57 สัปดาห์
ละ 100 นาที
10
6. สุนทรียภาพด้านดนตรี งานเดี่ยว
ให้นักเรียนฟังดนตรีคลาสสิคจากเพลงที่ครู
กาหนดให้ พร้อมทั้งเขียนบรรยายอารมณ์
ความรู้สึกที่ได้รับจากการฟังเพลงนั้นๆ
สัปดาห์ที่ 15
(27-31 ม.ค. 57)
3-7 ก.พ. 57 สัปดาห์
ละ 50 นาที
5
รวม 50
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลฉบับย่อ วิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต หน้า 6
หมายเหตุ เวลาที่นักเรียนควรใช้ หมายถึง เวลาที่ครูได้พิจารณาว่า ในการทางานหรือการบ้านชิ้นนั้น ๆ นักเรียนควรใช้เวลาทาประมาณเท่าใด การประมาณการดังกล่าว
ครูได้พิจารณาจากความยาก ความซับซ้อน และปริมาณของงานหรือการบ้านชิ้นนั้น ๆ
4.2 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน : จิตพิสัย (10 คะแนน)
การประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนรายวิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ได้กาหนดหัวข้อ
การประเมินได้ดังแสดงในตารางข้างล่าง
หัวข้อการประเมิน
ผลการประเมิน
ดีเยี่ยม
(5)
ดีมาก
(4)
ดี
(3)
ปานกลาง
(2)
ต้องปรับปรุง
(1)
พฤติกรรมทางด้านความรับผิดชอบ
1 ส่งงานตามที่กาหนด
2 มีความละเอียดรอบคอบในการทางานและทางานด้วยความเอาใจใส่
พฤติกรรมทางด้านความมีระเบียบวินัย
3 เข้าชั้นเรียนตรงเวลา
4 จานวนคาบที่เข้าเรียน
พฤติกรรมทางด้านความซื่อสัตย์
5 ปฏิบัติตามระเบียบ กฎ ข้อบังคับของโรงเรียนอย่างเคร่งครัด
พฤติกรรมทางด้านความเสียสละ
6. มีพฤติกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย
7. ช่วยเหลืองานส่วนรวม
พฤติกรรมทางด้านสัมมาคารวะ
8. มีความอ่อนน้อมถ่อมตน
9. พูดจาสุภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลฉบับย่อ วิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต หน้า 7
4.3 ประเมินจากการสอบกลางภาค (สอบตามตาราง : โดยโรงเรียนแต่ละแห่งใช้ข้อสอบของตนเอง) 20 คะแนน
กาหนดสอบกลางภาคระหว่างวันที่ 23 - 27 ธ.ค. 56 เวลาที่ใช้ในการสอบ 60 นาที สาระการเรียนรู้และลักษณะของข้อสอบที่ใช้ในการสอบ
กลางภาคโดยวิธีการสอบนอกตารางมีรายละเอียดดังนี้
หัวข้อ/เนื้อหาที่ใช้ในการสอบ ลักษณะและจานวนข้อสอบ คะแนน
ศิลปะตะวันตกจากมุมมองของคนปัจจุบัน
- ศิลปะอียิปต์
- ศิลปะกรีกโรมัน
- ศิลปะเรอเนสซองค์
- ศิลปะสมัยใหม่และศิลปะวิจารณ์
- อัตนัย 6 ข้อ (ชนิดบรรยายหรือเติมคา) 12
ศิลปะตะวันออกจากมุมมองของคนปัจจุบัน
- ศิลปะอินเดีย
- ศิลปะจีน
- ศิลปะขอม
- อัตนัย 4 ข้อ (ชนิดบรรยายหรือเติมคา) 8
หมายเหตุ : โรงเรียนแต่ละแห่งใช้ข้อสอบของตนเอง รวม 20
4.4 ประเมินจากการสอบปลายภาค (สอบนอกตาราง : โดยการนาเสนอประสบการณ์ทางความงามของนักเรียน) 20 คะแนน
กาหนดสอบปลายภาคโดยการสอบนอกตาราง ระหว่างวันที่ 24 ก.พ. - 28 กุมภาพันธ์ 57 เวลาที่ใช้ในการสอบ 100 นาที หัวข้อ/เนื้อหาและลักษณะ
ของข้อสอบมีรายละเอียดดังตาราง
หัวข้อการประเมิน ลักษณะและจานวนข้อสอบ คะแนน
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลฉบับย่อ วิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต หน้า 8
การสร้างสรรค์และนาเสนอประสบการณ์ทางความงาม ตัดสินจากการจัดแสดงผลงานศิลปะการออกแบบ หรือ การ
นาเสนอศิลปะนาฏยะเชิงสร้างสรรค์ (งานกลุ่ม)
20
รวม 20
5. เอกสารอ้างอิง
วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. ศิลปะชาวบ้าน Folk Art. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์อมรินทร์, 2546
วัฒนะ จูฑะวิภาต. การออกแบบเครื่องประดับ. กรุงเทพฯ: ธนาเพรส แอนด์ กราฟฟิค, 2545
วิรุณ ตั้งเจริญ. สุนทรียศาสตร์เพื่อชีวิต. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์สันติศิริการพิมพ์, 2546
กฤษดา เกิดดี. ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ การศึกษาว่าด้วย 10 ตระกูลสาคัญ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ภาพพิมพ์, 2543
สวนศรี ศรีแพงพงษ์. สุนทรียทางทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏจัทรเกษม, 2530
นิตยสาร
นิตยสาร ศิลปกรรม ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 2544 หน้า 18-27 ผู้เขียน ประมวญ บุรุษพัฒน์

More Related Content

ึϸรงค์ชีวิต ม.๖

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลฉบับย่อ วิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต หน้า 1 แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ ฉบับย่อ รายวิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต จานวนหน่วยกิต 1 หน่วยกิต เวลาเรียน 2 คาบ / สัปดาห์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 อาจารย์ผู้สอน 1.นายมานนท์ ผสมสัตย์ 2.นายชัยนันท์ วันอินทร์ 3.นางปภากร วงศ์ศิลปกุล  1. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาความหมาย ขอบข่ายของสุนทรียศาสตร์และเข้าใจความงามที่มีอยู่ในธรรมชาติ ผลงานวิจิตรศิลป์ ศิลปะประยุกต์ ศิลปะประจาชาติ ศิลปะพื้นบ้าน ศิลปะการแสดง ดนตรี ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว อย่างเป็นระบบด้วยหลักการและเหตุผลของวิชาสุนทรียศาสตร์ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในการชื่นชมความงามที่มีอยู่ในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวมทั้งตระหนักถึงคุณค่าของ สุนทรียศาสตร์และประยุกต์ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ 2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. สามารถวิเคราะห์ความงามที่มีอยู่ในธรรมชาติ และจากสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน 2. มีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ความงามของผลงานวิจิตรศิลป์และศิลปะประยุกต์ได้ 3. มีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ความงามของศิลปะประจาชาติไทยและศิลปะพื้นบ้านได้ 4. มีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ความงามของศิลปะการแสดงและชื่นชมดนตรีได้ 5. มีความรู้ความเข้าใจสามารถวิเคราะห์ความงามของศิลปะภาพถ่ายและชื่นชมภาพยนตร์ได้ 6. เห็นคุณค่าของวิชาสุนทรียศาสตร์และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลฉบับย่อ วิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต หน้า 2 3. กาหนดการสอนและจุดประสงค์การเรียนรู้ สัปดาห์ที่ คาบที่ หัวข้อ / สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการสอน / กิจกรรม สื่อการสอน / แหล่งเรียนรู้ 1-2 1-4 ความหมายของสุนทรียศาสตร์และ ธรรมชาติ - ความหมายของสุนทรียศาสตร์ - สุนทรียภาพในธรรมชาติ - มีความรู้ความเข้าใจและซาบซึ้งธรรมชาติที่ เป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ของมนุษย์ ให้นักเรียนอภิปรายและสัมผัสธรรมชาตินอก สถานที่ พร้อมทั้งถ่ายทอดความงดงามของ ธรรมชาติเป็นผลงานจิตรกรรม ภาพถ่ายจากแหล่งธรรมชาติต่างๆ /อุปกรณ์การสร้างงานจิตรกรรม 3-5 5-10 ศิลปะตะวันตกจากมุมมองของคน ปัจจุบัน - ศิลปะอียิปต์ - ศิลปะกรีกโรมัน - ศิลปะเรอเนสซองส์ - ศิลปะสมัยใหม่และศิลปะวิจารณ์ - มีความซาบซึ้งในสุนทรียภาพของผลงาน วิจิตรศิลป์ตะวันตก - สามารถวิเคราะห์วิจารณ์ผลงานวิจิตรศิลป์ ตะวันตกได้อย่างเข้าใจ ให้นักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับศิลปะตะวันตก และให้นักเรียนคัดลอกผลงานศิลปินที่มี ชื่อเสียงระดับโลกพร้อมทั้งเขียนวิจารณ์ผลงาน ที่ตนเองคัดลอก สไลด์ประกอบบทเรียน อุปกรณ์การสร้างงานจิตรกรรม 6-7 11-14 ศิลปะตะวันออกจากมุมมองของคน ปัจจุบัน - ศิลปะอินเดีย - ศิลปะจีน - ศิลปะขอม - มีความซาบซึ้งในสุนทรียภาพของผลงาน วิจิตรศิลป์ตะวันออก - สามารถวิเคราะห์วิจารณ์ผลงานวิจิตรศิลป์ ตะวันออกได้อย่างเข้าใจ - อภิปรายเกี่ยวกับศิลปะตะวันออก สไลด์ประกอบบทเรียน 8-9 15-18 สุนทรียภาพถ่ายและภาพยนตร์ - สุนทรียของภาพถ่าย (องค์ประกอบ ของการถ่ายภาพ , เทคนิควิธีการ) - สุนทรียของภาพยนตร์ (ภาพยนตร์ ประเภทต่างๆ) - วิจารณ์ภาพยนตร์และแรงบันดาลใจของการ สร้างสรรค์ รวมทั้งมีความซาบซึ้งใน สุนทรียภาพของศิลปะภาพถ่ายและภาพยนตร์ ได้อย่างเหมาะสม - ให้นักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับศิลปะการ ถ่ายภาพของตนเองหน้าชั้นเรียน - ให้นักเรียนวิจารณ์ภาพยนตร์ตามเรื่องที่ ได้รับชม ภาพถ่าย / ภาพยนตร์ 10 19-20 สอบกลางภาค ( สอบในตาราง )
  • 3. แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลฉบับย่อ วิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต หน้า 3 สัปดาห์ที่ คาบที่ หัวข้อ / สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการสอน / กิจกรรม สื่อการสอน / แหล่งเรียนรู้ 11-12 21-24 ศิลปะและวัฒนธรรมประจาชาติจาก มุมมองของคนปัจจุบัน - สุนทรียะกับศิลปะช่างพื้นบ้าน (ภาค กลาง , ภาคเหนือ , ภาคใต้ , ภาคอีสาน) - สุนทรียะกับศิลปะช่างหลวง - มีความซาบซึ้งและตระหนักถึงคุณค่าของภูมิ ปัญญาพื้นบ้านไทยตลอดจนความวิจิตรของ ศิลปะช่างหลวง - อภิปรายเกี่ยวกับศิลปะพื้นบ้านและศิลปะ ช่างหลวงโดยให้นักเรียนสร้างผลงานตามความ สนใจ - ให้นักเรียนคัดลอกด้วยลายเส้นจิตรกรรม ไทยฝาผนัง (ตามที่ตนสนใจ) - สไลด์ประกอบบทเรียน - อุปกรณ์ในการสร้างงาน จิตรกรรมไทย 13-14 25-28 สุนทรียะกับผลงานศิลปะประยุกต์ - สุนทรียะกับสถาปัตยกรรม - สุนทรียะกับนิเทศศิลป์ - สุนทรียะกับศิลปะอุตสาหกรรม - สุนทรียะกับวัฒนธรรมการแต่งกาย - มีความรู้ความเข้าใจในความหมายตลอดจน สุนทรียภาพของผลงานศิลปะ ประยุกต์รวมทั้ง วิเคราะห์หลักของการออกแบบสถาปัตยกรรม การออกแบบสื่อโฆษณา ศิลปะอุตสาหกรรม วิเคราะห์ถึงเหตุและผลของการออกแบบ เครื่องแต่งกายอย่างรู้กาลเทศะและเห็นความ งามได้อย่างมีระบบ ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานด้านการ ออกแบบเพื่อใช้ในงานโอกาสต่างๆ ตามที่ครู กาหนด ภาพถ่ายผลงานการออกแบบ/ อุปกรณ์สาหรับการออกแบบ 15-18 29-36 สุนทรียะศิลปะการแสดงและดนตรี 1.สุนทรียภาพด้านดนตรี - กระแสดนตรีทางตะวันตก พร้อม ตัวอย่างเพลง - กระแสดนตรีทางตะวันออก พร้อม ตัวอย่างเพลง 2.สุนทรียภาพด้านศิลปะการแสดง - การสร้างสรรค์การเคลื่อนไหวร่างกาย ตามจังหวะลีลาของเพลง - เครื่องแต่งกายสาหรับการแสดง - เวทีการแสดง 3.การถ่ายทอดอารมณ์ด้วยการ สร้างสรรค์ท่าทางการเคลื่อนไหวจาก การฟังเพลงประเภทต่างๆ - เข้าใจและซาบซึ้งในความงามจากแนว ทางการสร้างสรรค์ศิลปะการแสดงและดนตรี อย่างเหมาะสมอยู่ในกรอบวัฒนธรรม ที่ดีงามของไทย -นักเรียนแบ่งกลุ่มอภิปรายกระแสดนตรี ตะวันออก และตะวันตก -นักเรียนปฏิบัติการแสดงเชิงสร้างสรรค์ -เพลง / วีดิทัศน์ -หนังสือสุนทรียศาสตร์เพื่อชีวิต (สานักพิมพ์มศว.) -หนังสืองานฉากละคร 1,2 (สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์) -หนังสือการจัดแสงสาหรับเวที (สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์)
  • 4. แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลฉบับย่อ วิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต หน้า 4 สัปดาห์ที่ คาบที่ หัวข้อ / สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการสอน / กิจกรรม สื่อการสอน / แหล่งเรียนรู้ 19 37-38 การสร้างสรรค์และนาเสนอ ประสบการณ์ทางความงาม - วิธีการนาเสนอผลงาน - เพื่อให้นักเรียนรู้จักและศึกษาหลักการ สร้างสรรค์ วิธีการนาเสนอผลงานอย่างเป็น ระบบ ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า เทคนิควิธีการและ ปฏิบัติการออกแบบ หรือ การนาเสนอการ แสดงเชิงสร้างสรรค์ตามความสนใจ (งานกลุ่ม) อุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ออกแบบ 20 39-40 สัปดาห์สอบปลายภาค ( สอบนอกตาราง ) 4. แผนการประเมินผลการเรียนรู้และการมอบหมายงาน การสอนรายวิชาสุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 การประเมินผลการเรียน ดังนี้ ประเมินเป็นอัตราส่วน (ร้อยละ) ดังนี้ ร้อยละของคะแนนกลางภาค : ร้อยละของคะแนนปลายภาค = ร้อยละ 80 : ร้อยละ 20 ร้อยละของคะแนนกลางภาค = ร้อยละของคะแนนสอบก่อนกลางภาค + ร้อยละของคะแนนสอบกลางภาค + ร้อยละของคะแนนสอบหลังกลางภาค + ร้อยละของคะแนนจิตพิสัย = ร้อยละ 25 + ร้อยละ 20 + ร้อยละ 25 + ร้อยละ 10 แผนการประเมินผลการเรียน คือ 4.1 ประเมินจากงานหรือการบ้านที่มอบหมาย ร้อยละ 50 4.2 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน (จิตพิสัย) ร้อยละ 10 4.3 ประเมินจากการสอบกลางภาค ร้อยละ 20 4.4 ประเมินจากการสอบปลายภาค ร้อยละ 20 รายละเอียดการประเมินผลแต่ละหัวข้อ ดังนี้
  • 5. แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลฉบับย่อ วิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต หน้า 5 4.1 ประเมินจากงานหรือการบ้านที่มอบหมาย (50 คะแนน) รายการ รูปแบบของงาน วันที่ มอบหมาย กาหนดส่ง เวลาที่นักเรียน ควรใช้(นาที) คะแนน 1. สุนทรียภาพในธรรมชาติ งานเดี่ยว ให้นักเรียนเขียนภาพทิวทัศน์เทคนิคสีน้า สัปดาห์ที่ 1-2 (21ต.ค.-1พ.ย.56) 21ต.ค.-1พ.ย.56 สัปดาห์ ละ 100 นาที 10 2. ศิลปะสมัยใหม่และศิลปะวิจารณ์ งานเดี่ยว ให้นักเรียนคัดลอกผลงานศิลปินที่มี ชื่อเสียงระดับโลกพร้อมทั้งเขียนวิจารณ์ ผลงานที่ตนเองคัดลอก สัปดาห์ที่ 3 (4-8 พ.ย. 56) 2-6 ธ.ค. 56 สัปดาห์ ละ 100 นาที 10 3. สุนทรียภาพ ภาพถ่ายและภาพยนตร์ งานคู่ ให้นักเรียนนาเสนอผลงานการถ่ายภาพ ของตนเองหน้าชั้นเรียน สัปดาห์ที่ 8 (9-13 ธ.ค. 56) 9-13 ธ.ค. 56 สัปดาห์ ละ 100 นาที 5 4. สุนทรียะกับศิลปะช่างหลวง งานคู่ ให้นักเรียนคัดลอกด้วยลายเส้นจิตรกรรม ไทยฝาผนัง (ตามที่ตนสนใจ) สัปดาห์ที่ 11 (30ธ.ค. – 3ม.ค. 57) 6-10 ม.ค. 57 สัปดาห์ ละ 100 นาที 10 5. สุนทรียะกับนิเทศศิลป์ งานเดี่ยว ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานด้านการ ออกแบบเพื่อใช้ในงานโอกาสต่างๆ ตามที่ ครูกาหนด สัปดาห์ที่ 13 (13-17 ม.ค. 57) 20-24 ม.ค. 57 สัปดาห์ ละ 100 นาที 10 6. สุนทรียภาพด้านดนตรี งานเดี่ยว ให้นักเรียนฟังดนตรีคลาสสิคจากเพลงที่ครู กาหนดให้ พร้อมทั้งเขียนบรรยายอารมณ์ ความรู้สึกที่ได้รับจากการฟังเพลงนั้นๆ สัปดาห์ที่ 15 (27-31 ม.ค. 57) 3-7 ก.พ. 57 สัปดาห์ ละ 50 นาที 5 รวม 50
  • 6. แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลฉบับย่อ วิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต หน้า 6 หมายเหตุ เวลาที่นักเรียนควรใช้ หมายถึง เวลาที่ครูได้พิจารณาว่า ในการทางานหรือการบ้านชิ้นนั้น ๆ นักเรียนควรใช้เวลาทาประมาณเท่าใด การประมาณการดังกล่าว ครูได้พิจารณาจากความยาก ความซับซ้อน และปริมาณของงานหรือการบ้านชิ้นนั้น ๆ 4.2 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน : จิตพิสัย (10 คะแนน) การประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนรายวิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ได้กาหนดหัวข้อ การประเมินได้ดังแสดงในตารางข้างล่าง หัวข้อการประเมิน ผลการประเมิน ดีเยี่ยม (5) ดีมาก (4) ดี (3) ปานกลาง (2) ต้องปรับปรุง (1) พฤติกรรมทางด้านความรับผิดชอบ 1 ส่งงานตามที่กาหนด 2 มีความละเอียดรอบคอบในการทางานและทางานด้วยความเอาใจใส่ พฤติกรรมทางด้านความมีระเบียบวินัย 3 เข้าชั้นเรียนตรงเวลา 4 จานวนคาบที่เข้าเรียน พฤติกรรมทางด้านความซื่อสัตย์ 5 ปฏิบัติตามระเบียบ กฎ ข้อบังคับของโรงเรียนอย่างเคร่งครัด พฤติกรรมทางด้านความเสียสละ 6. มีพฤติกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย 7. ช่วยเหลืองานส่วนรวม พฤติกรรมทางด้านสัมมาคารวะ 8. มีความอ่อนน้อมถ่อมตน 9. พูดจาสุภาพ
  • 7. แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลฉบับย่อ วิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต หน้า 7 4.3 ประเมินจากการสอบกลางภาค (สอบตามตาราง : โดยโรงเรียนแต่ละแห่งใช้ข้อสอบของตนเอง) 20 คะแนน กาหนดสอบกลางภาคระหว่างวันที่ 23 - 27 ธ.ค. 56 เวลาที่ใช้ในการสอบ 60 นาที สาระการเรียนรู้และลักษณะของข้อสอบที่ใช้ในการสอบ กลางภาคโดยวิธีการสอบนอกตารางมีรายละเอียดดังนี้ หัวข้อ/เนื้อหาที่ใช้ในการสอบ ลักษณะและจานวนข้อสอบ คะแนน ศิลปะตะวันตกจากมุมมองของคนปัจจุบัน - ศิลปะอียิปต์ - ศิลปะกรีกโรมัน - ศิลปะเรอเนสซองค์ - ศิลปะสมัยใหม่และศิลปะวิจารณ์ - อัตนัย 6 ข้อ (ชนิดบรรยายหรือเติมคา) 12 ศิลปะตะวันออกจากมุมมองของคนปัจจุบัน - ศิลปะอินเดีย - ศิลปะจีน - ศิลปะขอม - อัตนัย 4 ข้อ (ชนิดบรรยายหรือเติมคา) 8 หมายเหตุ : โรงเรียนแต่ละแห่งใช้ข้อสอบของตนเอง รวม 20 4.4 ประเมินจากการสอบปลายภาค (สอบนอกตาราง : โดยการนาเสนอประสบการณ์ทางความงามของนักเรียน) 20 คะแนน กาหนดสอบปลายภาคโดยการสอบนอกตาราง ระหว่างวันที่ 24 ก.พ. - 28 กุมภาพันธ์ 57 เวลาที่ใช้ในการสอบ 100 นาที หัวข้อ/เนื้อหาและลักษณะ ของข้อสอบมีรายละเอียดดังตาราง หัวข้อการประเมิน ลักษณะและจานวนข้อสอบ คะแนน
  • 8. แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลฉบับย่อ วิชา ศ30105 สุนทรียศาสตร์กับการดารงชีวิต หน้า 8 การสร้างสรรค์และนาเสนอประสบการณ์ทางความงาม ตัดสินจากการจัดแสดงผลงานศิลปะการออกแบบ หรือ การ นาเสนอศิลปะนาฏยะเชิงสร้างสรรค์ (งานกลุ่ม) 20 รวม 20 5. เอกสารอ้างอิง วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. ศิลปะชาวบ้าน Folk Art. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์อมรินทร์, 2546 วัฒนะ จูฑะวิภาต. การออกแบบเครื่องประดับ. กรุงเทพฯ: ธนาเพรส แอนด์ กราฟฟิค, 2545 วิรุณ ตั้งเจริญ. สุนทรียศาสตร์เพื่อชีวิต. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์สันติศิริการพิมพ์, 2546 กฤษดา เกิดดี. ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ การศึกษาว่าด้วย 10 ตระกูลสาคัญ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ภาพพิมพ์, 2543 สวนศรี ศรีแพงพงษ์. สุนทรียทางทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏจัทรเกษม, 2530 นิตยสาร นิตยสาร ศิลปกรรม ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 2544 หน้า 18-27 ผู้เขียน ประมวญ บุรุษพัฒน์