ݺߣ
Submit Search
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
•
Download as PPTX, PDF
•
0 likes
•
132 views
ป
ปณพล ดาดวง
Follow
ความรู้เบี้องต้นของภาษาซี-โครงสร้างภาษาซี
Read less
Read more
1 of 14
Download now
Download to read offline
More Related Content
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
1.
โดย นายปณพล ดาดวง สคพ2.
ลྺที่5
3.
1. ส่วนหัวของโปรแกรม ส่วนหัวของโปรแกรมนี้เรียกว่า Preprocessing
Directive ใช้ระบุเพื่อ บอกให้คอมไพเลอร์กระทาการ ใด ๆ ก่อนการแปลผลโปรแกรม ในที่นี่ คาสั่ง #include <stdio.h> ใช้บอกกับคอมไพเลอร์ให้นาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ ระบุ คือ stdio.h เข้าร่วมในการแปลโปรแกรมด้วย โดยการกาหนด preprocessing directives นี้จะต้องขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # เสมอ
4.
คาสั่งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นาเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปล โปรแกรม สามารถเขียนได้ 2
รูปแบบ คือ - #include <ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์> คอมไพเลอร์จะทาการค้นหา เฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุจากไดเรกทอรีที่ใช้สาหรับเก็บเฮดเดอร์ไฟล์ โดยเฉพาะ (ปกติคือไดเรกทอรีชื่อ include) - #include “ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์” คอมไพเลอร์จะทาการค้นหาเฮด เดอร์ไฟที่ระบุ จากไดเร็คทอรีเดียวกันกับไฟล์ source code นั้น แต้ถ้าไม่พบก็จะไปค้นหาไดเร็คทอรีที่ใช้เก็บเฮดเดอร์ไฟล์ โดยเฉพาะ
5.
ฟังก์ชั่นหลักของภาษาซี คือ
ฟังก์ชั่น main() ซึ่งโปรแกรมภาษาซีทุก โปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชั่นนี้อยู่ในโปรแกรมเสมอ จะเห็นได้จากชื่อฟังก์ชั่นคือ main แปลว่า “หลัก” ดังนั้น การเขียนโปรแกรมภาษซีจึงขาดฟังก์ชั่นนี้ไป ไม่ได้ โดยขอบเขตของฟังก์ชั่นจะถูกกาหนดด้วยเครื่องหมาย { และ } กล่าวคือ การทางานของฟังก์ชั่นจะเริ่มต้นที่เครื่องหมาย { และจะสิ้นสุดที่ เครื่องหมาย } ฟังก์ชั่น main() สามารถเขียนในรูปแบบของ void main(void) ก็ได้ มีความหมายเหมือนกัน คือ หมายความว่า ฟังก์ชั่น main() จะไม่มีอาร์กิวเมนต์ (argument) คือไม่มีการรับค่าใด ๆ เข้า มาประมวลผลภายในฟังก์ชั่น และจะไม่มีการคืนค่าใด ๆ กลับออกไปจาก ฟังก์ชั่นด้วย
7.
เป็นส่วนของการเขียนคาสั่ง เพื่อให้โปรแกรมทางานตามที่ได้ออกแบบไว้ คอมเมนต์ในภาษาซี คอมเมนต์
(comment) คือส่วนที่เป็นหมายเหตุของโปรแกรม มีไว้ เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมใส่ข้อความอธิบายกากับลงไปใน source code ซึ่งคอมไพเลอร์จะข้ามาการแปลผลในส่วนที่เป็นคอมเมนต์นี้ คอมเมนต์ในภาษาซีมี 2 แบบคือ ¨ คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว ใช้เครื่องหมาย // ¨ คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด ใช้เครื่องหมาย /* และ */
8.
// Comment
only one line #include <stdio.h> #include <conio.h> main void() { clrscr(); /*comment many line*/ }
9.
ข้อควรระวังในการใช้คอมเมนต์ คือ ในกรณีที่ใช้คอมเมนต์แบบ หลายบรรทัด
จะไม่สามารถใช้คอมเมนต์ซ้อนคอมเมนต์ได้ ดังรูป มิฉะนั้นจะก่อให้เกิดข้อผิดพลาดในการคอมไพล์ / / /*Comment1*/ /*Comment2*/ /*Comment3*/ /*Comment2*/ X /*Comment1 /*Comment3*/
10.
จะเห็นว่าในกรณีที่ต้องการใส่คอมเมนต์หลาย ๆ บรรทัดติดกันนั้น คอมเมนต์แบบหลายบรรทัดจะช่วยประหยัดเวลาในการใส่คอมเมนต์ ได้มากกว่าการใช้คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว
แต่ก็ควรระมัดระวัง ในการใช้งานด้วย
11.
1: #include <stdio.h> 2:
void main() 3: { 4: clrscr(); 5: printf("My name is Kwanjit"); 6: }
12.
My name is
Kwanjit
13.
บรรทัดที่ 1:
เป็นการบอกให้คอมไพเลอร์นาเฮดเดอร์ไฟล์ชื่อ stdio.h เข้า มาร่วมในการแปลผลด้วย โดย stdio ย่อมาจาก standard input/output และ .h คือ นามสกุลของเฮดเดอร์ไฟล์ในภาษาซี (h ย่อมาจาก header) ซึ่ง stdio.h คือ เฮดเดอร์ไฟล์ที่รวมเอาการประกาศ (declaration) ของฟังก์ชั่นมาตรฐานของภาษาซีที่เกี่ยวกับการจัดการด้าน อินพุตและเอาต์พุตเข้ามาไว้ด้วยกันโปรแกรมนี้มีการเรียกใช้งานฟังก์ชั่น printf() เพื่อแสดงข้อมูลออกทางจอภาพ และเนื่องจากส่วนของการประกาศฟังก์ชั่น printf() ถูกบรรจุอยู่ในเฮดเดอร์ไฟล์ stdio.h ดังนั้นจึงจาเป็นต้องนาเฮดเดอร์ ไฟล์ stdio.h เข้าร่วมในการแปลผลด้วย บรรทัดที่ 2: คือฟังก์ชั่น void main() ซึ่งเป็นฟังก์ชั่นหลักของโปรแกรม การ ทางานของโปรแกรมภาษาซีจะเริ่มต้นที่ฟังก์ชั่นนี้ บรรทัดที่ 3: เครื่องหมาย { ระบุจุดเริ่มต้นของฟังก์ชั่น main() บรรทัดที่ 4: เป็นคาสั่งให้เคลียร์หน้าจอเวลาแสดงผลลัพธ์ บรรทัดที่ 5: เป็นการเรียกใช้ฟังก์ชั่น printf() ซึ่งเป็นฟังก์ชั่นมาตรฐานของ ภาษาซีทาหน้าที่แสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ ในที่นี้จะแสดงข้อความ My name is Kwanjit ออกทางจอภาพ บรรทัดที่ 6: เครื่องหมาย } ระบุจุดสิ้นสุดของฟังก์ชั่น main()
14.
https://sites.google.com/site/programingmp p/page-2
Download