ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย วรรณรัตน์ บุญยัง เลขที่ 9 ชั้น ม.6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นาย วรรณรัตน์ บุญยัง เลขที่ 9
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
- การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
- Slow life
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วรรณรัตน์ บุญยัง
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน 2 สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากปัจจุบันคนเราส่วนใหญ่ใช้ชีวิตแข่งกับเวลา ซึ่งชีวิตที่เร่งรีบนั้น อาจส่งผลในด้านลบกับเราหลาย
อย่าง เช่น ระบบการทางานของร่างกายถูกบังคับให้ทางานหนักกว่าเดิม หรือยิ่งรีบยิ่งพลาดอะไรดีๆ ในชีวิตไปไม่น้อย
ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้จัดทาโครงงานนี้ขึ้นมา ซึ่งผู้จัดทาหวังว่าโครงงานนี้จะเป็นประโยชน์ต่อทั้งผู้จัดทาและทุกคน เพราะ
หากเราใช้ชีวิตในทุกๆ ย่างก้าวอย่างละเมียดละไมที่สุด ชีวิตก็น่าจะได้อะไรที่มากกว่าเก่า
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาการใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ และนามาปรับใช้กับชีวิตประจาวัน
2. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตของทุกๆ คน
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
เป็นโครงงานเพื่อการเรียนรู้ ที่เป็นประโยชน์ซึ่งทุกๆ คนที่สนใจสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตของตนเองได้
อย่างอิสระ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
Slow life คือ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ ชะลอตัวเองให้ไม่ไหลอย่างไร้ทิศทางไปตาม
กระแสสังคม ทาทุกอย่างด้วยสปีดที่ช้าลง เพื่อให้มีสติและซึม ทราบความหมายของชีวิตได้มากขึ้น ทั้งหมดนี้มี Carl
Honoré บุคคลที่ Huffington Post ขนานนามว่าเป็นตัวพ่อแห่งการใช้ชีวิตแบบช้าๆ ได้ให้นิยามของชีวิต Slow life
เอาไว้
ซึ่ง Carl Honoré ก็ยังออกตัวไว้ว่า การใช้ชีวิตแบบ Slow life ไม่ได้หมายความว่าเราใช้ชีวิตอย่างช้าๆ แล้ว
จะกลายเป็นคนล้าหลังหรือดูว่าเป็นคนทึ่มไม่น่าจะทันกิน เพราะใครกันล่ะที่บอกว่า หากเราใช้ชีวิตแข่งกับเวลา ต้อง
แซงหน้าทุกๆ คน แล้วชีวิตจะดีกว่า ทั้งที่จริงแล้วชีวิตที่เร่งรีบอย่างที่เคยทามาตลอดส่งผลในด้านลบกับเราหลายอย่าง
เช่น ระบบการทางานของร่างกายถูกบังคับให้ทางานหนักกว่าเดิม หรือยิ่งรีบยิ่งพลาดอะไรดีๆ ในชีวิตไปไม่น้อย ดังนั้น
หากเราใช้ชีวิตในทุกๆ ย่างก้าวอย่างละเมียดละไมที่สุด ชีวิตก็น่าจะได้อะไรที่มากกว่า
ทว่าการใช้ชีวิตแบบ Slow life ก็ไม่ได้บอกให้ช้ากับทุกสิ่ง แต่เป็นการสร้างสมดุลแห่งช่วงเวลาในชีวิตอย่าง
เหมาะสม อาจมีบ้างที่ชีวิตต้องการความเร่งด่วน แต่ถึงอย่างไรความเร่งด่วนคงไม่ได้จาเป็นกับชีวิตเสมอไปหรอกใช่
ไหม ฉะนั้นสิ่งไหนควรรีบให้รีบ สิ่งไหนช้าได้ก็อย่าเร่งตัวเองเท่านั้นพอ
และนอกจากนิยามชีวิตแบบ Slow life ของ Carl Honoré แล้ว Leo Babauta นักเขียนชื่อดังชาวอเมริกัน
เชื้อสายกวม พ่วงด้วยตาแหน่งผู้ก่อตั้งเว็บบล็อก Zen Habits ยังได้บอกเล่ากฎการใช้ชีวิตแบบ Slow life ไว้ใน
หนังสือที่ขายดิบขายดีเรื่อง The Power Of Less ว่า หากอยากใช้ชีวิต Slow life แบบถึงแก่นจริงๆ คุณต้องเดินรอย
ตาม 10 ข้อนี้
1. ทาให้น้อย
เชื่อไหมว่าหลายคนมโนไปเองว่าทุกสิ่งในชีวิตสาคัญเทียบเท่ากันหมด จนบางครั้งถึงกับจัดลาดับไม่ถูกว่าควร
ทาอะไรก่อนดี แต่แทนที่จะปล่อยตัวเองให้หัวหมุนไปกับภารกิจร้อยแปดพันอย่าง ลองตั้งสติแล้วลาดับความสาคัญดู
ว่า สิ่งไหนควรต้องทาและจาเป็นต้องรีบจัดการให้เสร็จไปก่อน ที่เหลือก็ค่อยๆ เรียบเรียงความสาคัญทีหลัง แล้วแบ่ง
เวลาให้ตัวเองได้หยุดหายใจบ้าง
2. อยู่กับปัจจุบัน
ไม่เพียงแต่ชะลอจังหวะชีวิตของตัวเองให้ช้าลง แต่คุณควรต้องมีสติกับสิ่งที่กาลังเป็นอยู่ให้มากที่สุด สิ่งที่เกิด
ไปแล้วปล่อยผ่าน สิ่งที่ยังไม่เกิดช่างมัน สนใจแค่นาทีที่กาลังเป็นไป สิ่งแวดล้อมที่กาลังนั่งหายใจอยู่ และคนที่มาร่วม
หายใจอยู่ข้างๆ คุณเท่านั้นพอ
4
3. เบรกตัวเองจากโลกออนไลน์สักพัก
เทคโนโลยีและโซเชียลในยุคนี้แทรกแซงเข้ามาในชีวิตเราแบบไม่ทันได้ตั้งตัว หลายคนเลยเผลอเปิดตัวเองให้
พร้อมจะรับรู้ข่าวสารและติดต่อกับสังคมแทบจะตลอดเวลา เผลอทาชีวิตส่วนตัวหล่นหาย และแขวนความเป็นไปของ
เราไว้กับโลกออนไลน์ที่มีทั้งคนคุ้นเคยและแปลกหน้า ฉะนั้นลองชัตดาวน์ตัวเองมาอยู่ในมุมส่วนตัวสักพัก เปิดโอกาส
ให้ตัวเองมีเวลาเห็นและรับรู้สิ่งรอบตัวที่เคยมองข้ามไปบ้าง แค่นี้ก็ได้สัมผัสคาว่าชีวิตได้มากขึ้นอีกนิดแล้ว
4. สนใจคนรอบข้างอย่างจริงจัง
ทุกวันนี้เราเข้าสังคม เรานัดพบเพื่อนเก่าๆ และมีเวลาให้ครอบครัวเป็นประจา แต่ส่วนมากมักจะเป็นแนวพบ
เจอ พูดคุยแปบๆ แต่ไม่ได้สื่อสารกันอย่างจริงๆ จังๆ เนื่องจากมีเทคโนโลยีและการสื่อสารผ่านโลกออนไลน์เข้ามาแย่ง
พื้นที่ จากที่ควรจะนั่งสบตาและพูดคุยกันอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย เราก็กลับทาเพียงฟังในสิ่งที่เขาพูด และคอยหา
จังหวะพูดในสิ่งที่อยากพูดกลับไป เว้นช่องว่างของความเข้าอกเข้าใจกลวงโบ๋อย่างที่ไม่มีใครรู้ตัว ฉะนั้นเปลี่ยนมาใช้
ชีวิตกับคนรอบข้างแบบที่ได้สบตาคู่สนทนามากกว่าจ้องหน้าจอกันเถอะ
5. ซึมซับธรรมชาติให้มากขึ้น
เพียงแค่เราใส่ใจธรรมชาติมากขึ้น เราก็สามารถสัมผัสธรรมชาติได้แทบทุกวินาที โดยที่ไม่จาเป็นต้องเก็บ
เสื้อผ้าแล้วออกเดินทางไปหาธรรมชาติจากที่ไกลๆ ให้เหนื่อยเลย ไม่เชื่อลองเงยหน้าจากหนังสือ มือถือ แท็บเล็ต แล้ว
หันออกไปมองนอกหน้าต่าง เปิดโอกาสให้ตัวเองเดินย่าเท้าบนพื้นหญ้า ให้สายลมพัดพาผมให้ปลิว ให้ผิวได้รับวิตามิน
ดีจากแสงแดด ออกไปทากิจกรรมกลางแจ้งแทนการนั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ สัมผัสทุกสิ่งที่เรียกว่าธรรมชาติมากขึ้น
อีกนิด แล้วคุณจะรู้สึกโชคดีกับการมีชีวิตอยู่มากขึ้นทุกวัน
6. กินให้ช้าลง
เคี้ยวอาหารให้ช้าลง ละเมียดละไมความอร่อยจากอาหารที่เราตักเข้าปาก ใครไม่เคยใช้ชีวิต Slow life แบบ
นี้คงไม่รู้หรอกว่า แค่ปรับวิถีการกินอาหารให้ช้าลงก็มีความสุขมากขึ้นเยอะแล้ว อย่างน้อยระบบย่อยอาหารของเราก็
ไม่ต้องเร่งจนเหนื่อย ภายในร่างกายสมดุลขึ้น ชีวิตก็สมบูรณ์แบบได้
7. ขับรถให้ช้าลง
ชีวิตที่เร่งรีบอาจทาให้คุณต้องเหยียบไมล์รถจนเคยชิน จนบางครั้งก็ไม่ต่างจากการพาตัวเองไปสุ่มเสี่ยงกับ
อุบัติเหตุและ ความประมาทเลยสักนิด ดังนั้นถ้าไม่ต้องรีบคงดีกว่า ขับรถให้ช้าลง มีน้าใจบนท้องถนน และอาจตื่นให้
เช้าขึ้นอีกหน่อย จะได้มีเวลาแวะในจุดที่อยากแวะแต่ไม่เคยได้ทา เปิดประสบการณ์ชีวิตให้ตัวเองเพิ่มขึ้นอีกหลาย
อย่าง
5
8. โลกสวยด้วยมุมมอง
โลกจะสวยหรือเสื่อมอยู่ที่เราเลือกมองแบบไหน และบางครั้งการมีมุมมองแย่ๆ กับสิ่งรอบตัวก็เป็นเพราะเรา
รีบเร่งจนลืมพิจารณาสิ่งนั้นๆ ให้ดีต่างหาก ไม่ใช่เพราะสิ่งรอบตัวเราแย่เลย สักนิด ถ้าอย่างนั้นลองง่ายๆ แค่ทาอะไร
ให้ช้าลงอย่างมีสติ แล้วคุณจะเห็นด้านดีๆ จากสิ่งรอบตัววันละนิดละหน่อย เปลี่ยนโลกหม่นๆ ให้กลายเป็นโลกที่สวย
สดใส
9. ทาทีละอย่าง
อย่าลืมว่าเรามีแค่ 1 สมอง กับ 2 มือเท่านั้น ดังนั้นอย่าบังคับตัวเองให้ทาอะไรพร้อมกันหลายๆ อย่าง เพราะ
นั่นอาจเป็นจุดเริ่มต้นของความวุ่นวายในชีวิตได้ จับของสิ่งเดียวด้วยสองมือยังไงก็ชัวร์กว่าแยกอีกมือไปจับของอื่นๆ
ในเวลาเดียวกันนะ
10. หายใจเข้าลึกๆ
เคยรู้สึกเหนื่อยจนต้องหอบเพราะความเร่งรีบกันมามากแล้ว เรามาใช้ชีวิตให้ช้าลงเพื่อให้ตัว เองสูดลมหายใจ
เข้าลึกๆ กันบ้างดีกว่า เชื่อสิว่าเพียงแค่อยู่นิ่งๆ แล้วสูดลมหายใจเข้าปอดลึกๆ ยาวๆ สติที่บินหายไปก็จะเริ่มกลับมา
ความเครียด ความโกรธ และความเหน็ดเหนื่อยก็จะหายไป
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- วางแผนการดาเนินงานและปฏิบัติตามแผนที่วางไว้
- นาเสนองานผ่านเว็บไซต์ Blogger
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- คอมพิวเตอร์เพื่อค้นคว้าหาข้อมูล
- หนังสือความรู้ในเรื่องที่จะศึกษา
- สมุดบันทึก
งบประมาณ
- 40 บาท/วัน
6
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน วันที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
1 คิดหัวข้อโครงงาน นาย วรรณรัตน์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล นาย วรรณรัตน์
3 จัดทาโครงร่างงาน นาย วรรณรัตน์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน นาย วรรณรัตน์
5 ปรับปรุงทดสอบ นาย วรรณรัตน์
6 การทาเอกสารรายงาน นาย วรรณรัตน์
7 ประเมินผลงาน นาย วรรณรัตน์
8 นาเสนอโครงงาน นาย วรรณรัตน์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
- ผู้ปฏิบัติมีสมาธิกับสิ่งรอบตัวมากขึ้น
- สามารถถ่ายทอดข้อมูลประโยชน์ให้แก่ผู้อื่นได้
สถานที่ดาเนินการ
- บ้าน หอพัก สถานที่ท่องเที่ยวธรรมชาติ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- สังคมศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1. http://health.kapook.com/view121714.html
2. http://www.oknation.net/blog/surasakc/2013/05/28/entry-1
3. บทความ “ช้าแต่ชัวร์ !! ใช้ชีวิต Slow Life เพื่อความสุขยืนยาว” โดย มิสแซฟไฟร์ ใน นสพ. ไทยรัฐ 20 เม.ย.56

More Related Content

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วรรณรัตน์ บุญยัง เลขที่ 9 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นาย วรรณรัตน์ บุญยัง เลขที่ 9 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) - การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) - Slow life ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วรรณรัตน์ บุญยัง ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน 2 สัปดาห์ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากปัจจุบันคนเราส่วนใหญ่ใช้ชีวิตแข่งกับเวลา ซึ่งชีวิตที่เร่งรีบนั้น อาจส่งผลในด้านลบกับเราหลาย อย่าง เช่น ระบบการทางานของร่างกายถูกบังคับให้ทางานหนักกว่าเดิม หรือยิ่งรีบยิ่งพลาดอะไรดีๆ ในชีวิตไปไม่น้อย ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้จัดทาโครงงานนี้ขึ้นมา ซึ่งผู้จัดทาหวังว่าโครงงานนี้จะเป็นประโยชน์ต่อทั้งผู้จัดทาและทุกคน เพราะ หากเราใช้ชีวิตในทุกๆ ย่างก้าวอย่างละเมียดละไมที่สุด ชีวิตก็น่าจะได้อะไรที่มากกว่าเก่า วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาการใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ และนามาปรับใช้กับชีวิตประจาวัน 2. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตของทุกๆ คน
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) เป็นโครงงานเพื่อการเรียนรู้ ที่เป็นประโยชน์ซึ่งทุกๆ คนที่สนใจสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตของตนเองได้ อย่างอิสระ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) Slow life คือ การใช้ชีวิตแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีสาระ ชะลอตัวเองให้ไม่ไหลอย่างไร้ทิศทางไปตาม กระแสสังคม ทาทุกอย่างด้วยสปีดที่ช้าลง เพื่อให้มีสติและซึม ทราบความหมายของชีวิตได้มากขึ้น ทั้งหมดนี้มี Carl Honoré บุคคลที่ Huffington Post ขนานนามว่าเป็นตัวพ่อแห่งการใช้ชีวิตแบบช้าๆ ได้ให้นิยามของชีวิต Slow life เอาไว้ ซึ่ง Carl Honoré ก็ยังออกตัวไว้ว่า การใช้ชีวิตแบบ Slow life ไม่ได้หมายความว่าเราใช้ชีวิตอย่างช้าๆ แล้ว จะกลายเป็นคนล้าหลังหรือดูว่าเป็นคนทึ่มไม่น่าจะทันกิน เพราะใครกันล่ะที่บอกว่า หากเราใช้ชีวิตแข่งกับเวลา ต้อง แซงหน้าทุกๆ คน แล้วชีวิตจะดีกว่า ทั้งที่จริงแล้วชีวิตที่เร่งรีบอย่างที่เคยทามาตลอดส่งผลในด้านลบกับเราหลายอย่าง เช่น ระบบการทางานของร่างกายถูกบังคับให้ทางานหนักกว่าเดิม หรือยิ่งรีบยิ่งพลาดอะไรดีๆ ในชีวิตไปไม่น้อย ดังนั้น หากเราใช้ชีวิตในทุกๆ ย่างก้าวอย่างละเมียดละไมที่สุด ชีวิตก็น่าจะได้อะไรที่มากกว่า ทว่าการใช้ชีวิตแบบ Slow life ก็ไม่ได้บอกให้ช้ากับทุกสิ่ง แต่เป็นการสร้างสมดุลแห่งช่วงเวลาในชีวิตอย่าง เหมาะสม อาจมีบ้างที่ชีวิตต้องการความเร่งด่วน แต่ถึงอย่างไรความเร่งด่วนคงไม่ได้จาเป็นกับชีวิตเสมอไปหรอกใช่ ไหม ฉะนั้นสิ่งไหนควรรีบให้รีบ สิ่งไหนช้าได้ก็อย่าเร่งตัวเองเท่านั้นพอ และนอกจากนิยามชีวิตแบบ Slow life ของ Carl Honoré แล้ว Leo Babauta นักเขียนชื่อดังชาวอเมริกัน เชื้อสายกวม พ่วงด้วยตาแหน่งผู้ก่อตั้งเว็บบล็อก Zen Habits ยังได้บอกเล่ากฎการใช้ชีวิตแบบ Slow life ไว้ใน หนังสือที่ขายดิบขายดีเรื่อง The Power Of Less ว่า หากอยากใช้ชีวิต Slow life แบบถึงแก่นจริงๆ คุณต้องเดินรอย ตาม 10 ข้อนี้ 1. ทาให้น้อย เชื่อไหมว่าหลายคนมโนไปเองว่าทุกสิ่งในชีวิตสาคัญเทียบเท่ากันหมด จนบางครั้งถึงกับจัดลาดับไม่ถูกว่าควร ทาอะไรก่อนดี แต่แทนที่จะปล่อยตัวเองให้หัวหมุนไปกับภารกิจร้อยแปดพันอย่าง ลองตั้งสติแล้วลาดับความสาคัญดู ว่า สิ่งไหนควรต้องทาและจาเป็นต้องรีบจัดการให้เสร็จไปก่อน ที่เหลือก็ค่อยๆ เรียบเรียงความสาคัญทีหลัง แล้วแบ่ง เวลาให้ตัวเองได้หยุดหายใจบ้าง 2. อยู่กับปัจจุบัน ไม่เพียงแต่ชะลอจังหวะชีวิตของตัวเองให้ช้าลง แต่คุณควรต้องมีสติกับสิ่งที่กาลังเป็นอยู่ให้มากที่สุด สิ่งที่เกิด ไปแล้วปล่อยผ่าน สิ่งที่ยังไม่เกิดช่างมัน สนใจแค่นาทีที่กาลังเป็นไป สิ่งแวดล้อมที่กาลังนั่งหายใจอยู่ และคนที่มาร่วม หายใจอยู่ข้างๆ คุณเท่านั้นพอ
  • 4. 4 3. เบรกตัวเองจากโลกออนไลน์สักพัก เทคโนโลยีและโซเชียลในยุคนี้แทรกแซงเข้ามาในชีวิตเราแบบไม่ทันได้ตั้งตัว หลายคนเลยเผลอเปิดตัวเองให้ พร้อมจะรับรู้ข่าวสารและติดต่อกับสังคมแทบจะตลอดเวลา เผลอทาชีวิตส่วนตัวหล่นหาย และแขวนความเป็นไปของ เราไว้กับโลกออนไลน์ที่มีทั้งคนคุ้นเคยและแปลกหน้า ฉะนั้นลองชัตดาวน์ตัวเองมาอยู่ในมุมส่วนตัวสักพัก เปิดโอกาส ให้ตัวเองมีเวลาเห็นและรับรู้สิ่งรอบตัวที่เคยมองข้ามไปบ้าง แค่นี้ก็ได้สัมผัสคาว่าชีวิตได้มากขึ้นอีกนิดแล้ว 4. สนใจคนรอบข้างอย่างจริงจัง ทุกวันนี้เราเข้าสังคม เรานัดพบเพื่อนเก่าๆ และมีเวลาให้ครอบครัวเป็นประจา แต่ส่วนมากมักจะเป็นแนวพบ เจอ พูดคุยแปบๆ แต่ไม่ได้สื่อสารกันอย่างจริงๆ จังๆ เนื่องจากมีเทคโนโลยีและการสื่อสารผ่านโลกออนไลน์เข้ามาแย่ง พื้นที่ จากที่ควรจะนั่งสบตาและพูดคุยกันอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย เราก็กลับทาเพียงฟังในสิ่งที่เขาพูด และคอยหา จังหวะพูดในสิ่งที่อยากพูดกลับไป เว้นช่องว่างของความเข้าอกเข้าใจกลวงโบ๋อย่างที่ไม่มีใครรู้ตัว ฉะนั้นเปลี่ยนมาใช้ ชีวิตกับคนรอบข้างแบบที่ได้สบตาคู่สนทนามากกว่าจ้องหน้าจอกันเถอะ 5. ซึมซับธรรมชาติให้มากขึ้น เพียงแค่เราใส่ใจธรรมชาติมากขึ้น เราก็สามารถสัมผัสธรรมชาติได้แทบทุกวินาที โดยที่ไม่จาเป็นต้องเก็บ เสื้อผ้าแล้วออกเดินทางไปหาธรรมชาติจากที่ไกลๆ ให้เหนื่อยเลย ไม่เชื่อลองเงยหน้าจากหนังสือ มือถือ แท็บเล็ต แล้ว หันออกไปมองนอกหน้าต่าง เปิดโอกาสให้ตัวเองเดินย่าเท้าบนพื้นหญ้า ให้สายลมพัดพาผมให้ปลิว ให้ผิวได้รับวิตามิน ดีจากแสงแดด ออกไปทากิจกรรมกลางแจ้งแทนการนั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์ สัมผัสทุกสิ่งที่เรียกว่าธรรมชาติมากขึ้น อีกนิด แล้วคุณจะรู้สึกโชคดีกับการมีชีวิตอยู่มากขึ้นทุกวัน 6. กินให้ช้าลง เคี้ยวอาหารให้ช้าลง ละเมียดละไมความอร่อยจากอาหารที่เราตักเข้าปาก ใครไม่เคยใช้ชีวิต Slow life แบบ นี้คงไม่รู้หรอกว่า แค่ปรับวิถีการกินอาหารให้ช้าลงก็มีความสุขมากขึ้นเยอะแล้ว อย่างน้อยระบบย่อยอาหารของเราก็ ไม่ต้องเร่งจนเหนื่อย ภายในร่างกายสมดุลขึ้น ชีวิตก็สมบูรณ์แบบได้ 7. ขับรถให้ช้าลง ชีวิตที่เร่งรีบอาจทาให้คุณต้องเหยียบไมล์รถจนเคยชิน จนบางครั้งก็ไม่ต่างจากการพาตัวเองไปสุ่มเสี่ยงกับ อุบัติเหตุและ ความประมาทเลยสักนิด ดังนั้นถ้าไม่ต้องรีบคงดีกว่า ขับรถให้ช้าลง มีน้าใจบนท้องถนน และอาจตื่นให้ เช้าขึ้นอีกหน่อย จะได้มีเวลาแวะในจุดที่อยากแวะแต่ไม่เคยได้ทา เปิดประสบการณ์ชีวิตให้ตัวเองเพิ่มขึ้นอีกหลาย อย่าง
  • 5. 5 8. โลกสวยด้วยมุมมอง โลกจะสวยหรือเสื่อมอยู่ที่เราเลือกมองแบบไหน และบางครั้งการมีมุมมองแย่ๆ กับสิ่งรอบตัวก็เป็นเพราะเรา รีบเร่งจนลืมพิจารณาสิ่งนั้นๆ ให้ดีต่างหาก ไม่ใช่เพราะสิ่งรอบตัวเราแย่เลย สักนิด ถ้าอย่างนั้นลองง่ายๆ แค่ทาอะไร ให้ช้าลงอย่างมีสติ แล้วคุณจะเห็นด้านดีๆ จากสิ่งรอบตัววันละนิดละหน่อย เปลี่ยนโลกหม่นๆ ให้กลายเป็นโลกที่สวย สดใส 9. ทาทีละอย่าง อย่าลืมว่าเรามีแค่ 1 สมอง กับ 2 มือเท่านั้น ดังนั้นอย่าบังคับตัวเองให้ทาอะไรพร้อมกันหลายๆ อย่าง เพราะ นั่นอาจเป็นจุดเริ่มต้นของความวุ่นวายในชีวิตได้ จับของสิ่งเดียวด้วยสองมือยังไงก็ชัวร์กว่าแยกอีกมือไปจับของอื่นๆ ในเวลาเดียวกันนะ 10. หายใจเข้าลึกๆ เคยรู้สึกเหนื่อยจนต้องหอบเพราะความเร่งรีบกันมามากแล้ว เรามาใช้ชีวิตให้ช้าลงเพื่อให้ตัว เองสูดลมหายใจ เข้าลึกๆ กันบ้างดีกว่า เชื่อสิว่าเพียงแค่อยู่นิ่งๆ แล้วสูดลมหายใจเข้าปอดลึกๆ ยาวๆ สติที่บินหายไปก็จะเริ่มกลับมา ความเครียด ความโกรธ และความเหน็ดเหนื่อยก็จะหายไป วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - วางแผนการดาเนินงานและปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ - นาเสนองานผ่านเว็บไซต์ Blogger เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - คอมพิวเตอร์เพื่อค้นคว้าหาข้อมูล - หนังสือความรู้ในเรื่องที่จะศึกษา - สมุดบันทึก งบประมาณ - 40 บาท/วัน
  • 6. 6 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน วันที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 1 คิดหัวข้อโครงงาน นาย วรรณรัตน์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล นาย วรรณรัตน์ 3 จัดทาโครงร่างงาน นาย วรรณรัตน์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน นาย วรรณรัตน์ 5 ปรับปรุงทดสอบ นาย วรรณรัตน์ 6 การทาเอกสารรายงาน นาย วรรณรัตน์ 7 ประเมินผลงาน นาย วรรณรัตน์ 8 นาเสนอโครงงาน นาย วรรณรัตน์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) - ผู้ปฏิบัติมีสมาธิกับสิ่งรอบตัวมากขึ้น - สามารถถ่ายทอดข้อมูลประโยชน์ให้แก่ผู้อื่นได้ สถานที่ดาเนินการ - บ้าน หอพัก สถานที่ท่องเที่ยวธรรมชาติ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - สังคมศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1. http://health.kapook.com/view121714.html 2. http://www.oknation.net/blog/surasakc/2013/05/28/entry-1 3. บทความ “ช้าแต่ชัวร์ !! ใช้ชีวิต Slow Life เพื่อความสุขยืนยาว” โดย มิสแซฟไฟร์ ใน นสพ. ไทยรัฐ 20 เม.ย.56