ݺߣ
Submit Search
โครงการบำบัดȨำเสียบึงมักกะสันอัȨȨ่องมาจากพระราชึϸริ
•
Download as DOCX, PDF
•
0 likes
•
1,334 views
ส
สมพร นายน้อย
Follow
โครงการบำบัดȨำเสีย
Read less
Read more
1 of 2
Download now
Download to read offline
More Related Content
โครงการบำบัดȨำเสียบึงมักกะสันอัȨȨ่องมาจากพระราชึϸริ
1.
โครงการบาบัดน้าเสียบึงมักกะสันอันเนื่องมาจากพระราชดาริ พระราชดาริ โครงการบาบัดน้าเสียบึงมักกะสันอันเนื่องมาจากพระราชดาริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดาริ เมื่อวันที่
15 เมษายน และวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2528 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมปรับปรุงบึงมักกะสัน เพื่อช่วยระบายน้าและบรรเทาสภาพน้าเสียในคลองสามเสน โดยใช้รูปแบบ “เครื่องกรองน้าธรรมชาติ” ความตอนหนึ่งว่า “...บึงมักกะสันนี้ ทาโครงการที่เรียกว่าแบบคนจน โดยใช้หลักว่าผักตบชวาที่มีอยู่ทั่วไปนั้น เป็ นพืชดูดความโสโครกออกมาแล้วก็ทาให้น้าสะอาดขึ้นได้ เป็ นเครื่องกรองธรรมชาติใช้พลังงานแสงอาทิตย์และธรรมชาติของการเติบโตของพืช...” การบาบัดน้าเสียด้วยผักตบชวาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัยในการปรับปรุง คุณภาพของแหล่งน้าที่มีอยู่แล้ว เช่นบึงและหนองต่างๆ เพื่อทาเป็ นแหล่งบาบัดน้าเสีย โดยหนึ่งในจานวนนั้นได้แก่ โครงการบึงมักกะสันอันเนื่องมาจากพระราชดาริ มีหลักการบาบัดน้าเสีย ตามแนวทฤษฎีการพัฒนาโดยการกรองน้าเสียด้วยผักตบชวา การดาเนินงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันจัดทาบ่อดินขนาดความลึก 0.5 – 2 เมตร ใส่ผักตบชวาเป็ นตัวดูดซับสารอาหารและโลหะหนักโดยมีการเปลี่ยนผักตบชวาทุก 10 สัปดาห์ สามารถบาบัดน้าเสียได้วันละ 30,000-100,000 ลูกบาศก์เมตร และต่อมามีการเสริมเครื่องเติมอากาศแบบทุ่นลอยร่วมบาบัดด้วย ทาให้สามารถบาบัดน้าเสียได้ วันละ 260.000 ลูกบาศก์เมตรการพัฒนาและปรับปรุงระบบบาบัดน้าเสียบึงมักกะสัน จากการที่ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยดาเนินการก่อสร้างทางด่วนมหานครขั้น 2 ระยะที่ 1 โดยมีแนวผ่านบึงมักกะสันและมีตอม่อโครงสร้างอยู่กลางบึง ทาให้น้าในบึงไม่ถูกแสงแดด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทานพระราชดาริให้ใช้เครื่องพ่นอากาศเข้าช่วย มูลนิธิชัยพัฒนาและกรุงเทพมหานครจึงรับสนองพระราชดาริ ในการปรับปรุงบึงมักกะสัน เพื่อให้สามารถฟอก น้าในคลองสามเสนให้สะอาดขึ้น วันละ 260,000 ลูกบาศก์เมตร ด้วยการใช้เครื่องเติมอากาศแบบทุ่นลอย ผสมกับ การใช้ผักตบชวา ซึ่งสามารถบาบัดน้าเสียได้เพิ่มจากเดิม10 เท่า โดยมูลนิธิชัยพัฒนาเป็ นผู้จัดหา และติดตั้งเครื่องเติมอากาศ ขนาด 11 KW จานวน 10 เครื่องและกรุงเทพมหานครเป็ นผู้ดาเนินการขุดลอกบึงพร้อมทั้งติดตั้ง เครื่องสูบน้าและปลูกผักตบชวาสาหรับน้าที่ใสสะอาดขึ้นนี้ให้ระบายออกสู่คลองธรรมชาติตามเดิม แล้วรับน้าเสียจานวนใหม่มาดาเนินการผ่านกรรมวิธีเป็ นวงจร เช่นนี้ตลอดไปในอนาคตเมื่อการกาจัดน้าเน่าเสียด้วยผักตบชวาในบึงมักกะสันแห่งนี้ ได้ผลดี ก็จะได้นาไป ใช้เป็ น แบบอย่างในการแก้ไขปัญหาน้าเน่าเสียที่แหล่งน้า
2.
หรือลาคลองอื่นต่อไปซึ่งในขณะนี้กรุงเทพมหานครและการรถไฟแห่งประเทศไทย ร่วมเป็ นหน่วยงานหลักในการใช้ประโยชน์ และดูแลรักษาบึงแห่งนี้ให้คงมีสภาพที่ดีสืบไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเปรียบเทียบว่า
"บึงมักกะสัน" เป็ นเสมือนดั่ง "ไตธรรมชาติ" ของกรุงเทพมหานคร ที่เป็ นแหล่งเก็บกักและระบายน้าในฤดูฝน นอกจากนี้ ยังมีผลพลอยได้หลายอย่างเช่น ปุ๋ ย เชื้อเพลิง เยื่อสานจากผักตบชวาและการปลูกพืชน้าอื่นๆ เช่น ผักบุ้ง เป็ นต้น รวมทั้งการเลี้ยงปลาด้วย โดยมิได้มีพระราชประสงค์จะทาให้เป็ น สวนสาธารณะแต่อย่างใด บึงมักกะสันจึงเป็ นบึงที่สร้างภาวะแวดล้อมด้วยวิธีธรรมชาติ เรียบง่าย ประหยัด และที่สาคัญเป็ น แหล่งค้นคว้าทดลองที่พระราชทานเพื่อปวงประชา จักได้มีสุขถ้วนทั่วหน้ากัน การพัฒนาบึงมักกะสันจึงนับเป็ นความสาเร็จที่เกิดจาก พระปรีชาสามารถในเชิงวิชาการด้านนิเวศวิทยาและการแก้ไขปัญหาภาวะมลพิษทางน้า ด้วย สายพระเนตรที่ยาวไกล จึงนับเป็ นพระมหากรุณาธิคุณอย่างยิ่งแก่ชาวไทยทั้งมวล ประโยชน์ของโครงการ บาบัดน้าเสียรวมทั้งได้ผักตบชวาสาหรับทาปุ๋ยหมักหรือเชื้อเพลิงและอาหารสัตว์ต ามเหมาะสม รวมทั้งเป็นการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตชองประประชาชนในพื้นที่รอบบริเว ณบึงมักกะสัน ให้ดีขึ้นอีกด้วย
Download