ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
บทที่4
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
ความหมายของนิติกรรม
• การใดๆอันกระทาลงโดยชอบด้วยกฎหมาย
ด้วยใจสมัครมุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล
นิติกรรม
• หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากการกระทา
ของบุคคลหรือเกิดขึ้นตามธรรมชาติซึ่ง
เหตุการณ์นั้นไม่มีผู้ใดสมัครใจจะให้เกิดผล
กฎหมาย แต่กฎหมายได้กาหนดให้
เหตุการณ์เหล่านั้นมีผลทางกฎหมายและ
ก่อให้เกิดความเคลื่อนไหวแห่งสิทธิขึ้น
นิติเหตุ
องค์ประกอบของนิติกรรม
• นิติกรรมต้องเป็ นการกระทาของบุคคล แต่หากเป็ นการ
กระทาของสัตว์หรือสิ่งของย่อมไม่เป็ นนิติกรรม
1.การแสดงเจตนาของ
บุคคล
• การกระทาที่ชอบหรือถูกกฎหมาย หากบุคคลแสดง
เจตนาทานิติกรรมโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย แม้
บุคคลนั้นจะประสงค์ให้เกิดผลผูกพันก็ตาม กฎหมายก็
จะกาหนดให้นิติกรรมนั้นเสียไป
2.การกระทาที่ชอบด้วย
กฎหมาย
• หากบุคคลกระทาการโดยไม่มุ่งผูกพันทางกฎหมายต่อ
บุคคลอื่น ไม่ว่าจะเป็ นการพูดจาล้อเล่น การแสดง
อัธยาศัยไมตรีทางสังคม การกระทาเหล่านี้ย่อมไม่เป็ น
นิติกรรม
3.การกระทาที่มุ่งผูกนิติ
สัมพันธ์ระหว่างบุคคล
องค์ประกอบของนิติกรรม
• การแสดงเจตนาออกโดยอิสระและตรงกับความรู้สึก
นึกคิดหลอกลวงหรือขู่เข็ญบังคับหากบุคคลแสดง
เจตนาโดยไม่สมัครใจอาจทาให้นิติกรรมนั้นมีผลเป็ น
โมฆะ
4.การกระทาโดยสมัครใจ
• การเคลื่อนไหวแห่งสิทธิ ได้แก่ การก่อ เปลี่ยนแปลง
โอนทานิติกรรมซื้อไปยังผู้ขายเป็ นการโอนกรรมสิทธิ์
ในทรัพย์สินจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อและโอนกรรมสิทธิ์ใน
เงินจากผู้ซื้อไปยังผู้ขายการชาระหนี้ทาให้หนี้ระงับลง
เป็ นต้น
5.การกระทาที่ก่อให้เกิด
การเคลื่อนไหวแห่งสิทธิ
แบ่งตามฝ่ายที่เข้าทานิติกรรม แบ่งเป็น 2 ประเภท
1) นิติกรรมฝ่ายเดียว หมายถึง นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการ
แสดงเจตนาของบุคคลเพียงฝ่ายเดียว เช่น การทาพินัยกรรม การ
ปลดหนี้
2) นิติกรรมหลายฝ่าย หมายถึง นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการ
แสดงเจตนาของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป นิติกรรมประเภทนี้
เรียกว่า “สัญญา” เช่น สัญญาซื้อขาย สัญญากู้ยืมเงิน
แบ่งตามเวลาที่นิติกรรมมีผล แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท
1) นิติกรรมที่มีผลในระหว่างที่ตนยังมีชีวิตอยู่ ซึ่งอาจ
เป็นนิติกรรมฝ่ายเดียวหรือนิติกรรมหลายฝ่ายก็ได้ เช่น การปลด
หนี้การบอกเลิกสัญญา
2) นิติกรรมที่มีผลเมื่อผู้ทานิติกรรมตายแล้ว หมายถึง
นิติกรรมที่เกิดขึ้นแล้วในขณะที่ผู้ทานิติกรรมยังมีชีวิตอยู่ เช่น การ
ทาพินัยกรรม เป็นต้น
 แบ่งตามวิธีการที่ทาให้นิติกรรมสมบูรณ์ แบ่งออกได้เป็น 2
ประเภท
1) นิติกรรมที่สมบูรณ์ด้วยการแสดงเจตนา
หมายถึง นิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์และบังคับใช้ได้ทันทีเมื่อมี
การแสดงเจตนาของผู้ทานิติกรรม เช่น สัญญาจ้างแรงงาน
เป็นต้น
2) นิติกรรมที่สมบูรณ์เมื่อได้ทาตามแบบที่
กฎหมายกาหนด หมายถึง นิติกรรมที่ลาพังเพียงแต่การ
แสดงเจตนาของผู้ทานิติกรรมยังไม่ทาให้นิติกรรมนั้นสมบูรณ์
เช่น สัญญาซื้อขาย อสังหาริมทรัพย์
นิติกรรมที่ไม่สมบูรณ์ หมายถึง นิติกรรมที่มีความผิดปกติ
บางอย่างในการก่อนิติกรรมนั้น ซึ่งความผิดปกตินี้ทาให้กฎหมายไม่
ยอมรับให้นิติกรรมมีผลในทางกฎหมายเลยอันได้แก่ โมฆะกรรม
หรือยอมรับให้มีผลในทางกฎหมายเพียงชั่วคราวจนกว่าจะมีการ
บอกล้างอันได้แก่ โมฆียะกรรม
4. ความไม่สมบูรณ์ของนิติกรรม
โมฆะกรรม
โมฆะกรรม หมายถึง การที่นิติกรรมเสียเปล่าไม่ก่อให้เกิดผลใดๆ
ในทางกฎหมายมาตั้งแต่ทานิติกรรม เหตุที่ทาให้นิติกรรมเป็นโมฆะมีดังนี้
1. วัตถุประสงค์ นิติกรรมใดมีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เป็น
การพ้นวิสัยหรือเป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน นิติกรรม
นั้นย่อมตกเป็นโมฆะ เช่น
1) มีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
2) มีวัตถุประสงค์เป็นการพ้นวิสัย
3) มีวัตถุประสงค์ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของ
ประชาชน
2. แบบ นิติกรรมใดไม่ได้ทาให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมาย
กาหนดไว้นิติกรรมนั้นย่อมตกเป็นโมฆะ ซึ่งแบบที่กฎหมาย
กาหนดให้ทานั้นมีอยู่หลายประเภทด้วยกัน เช่น
1) นิติกรรมที่ต้องทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่
2) นิติกรรมที่ต้องทาเป็นหนังสือต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่
3) นิติกรรมที่ต้องทาเป็นหนังสือระหว่างคู่สัญญา
ด้วยกัน
3. การแสดงเจตน่าซ่อนเร้น หมายถึงกรณีที่ผู้ทานิติกรรมอย่าง
หนึ่งแต่ด้วยเหตุผลบางประการในเวลาที่แสดงเจตนากับแสดง
เจตนาทานิติกรรมอย่างหนึ่งที่ไม่ตรงกับที่ตัดสินใจไว้ด้วยความ
ตั้งใจของตนเอง มีลักษณะเป็นการซ่อนเจตนาที่แท้จริงเอาไว้
4. การแสดงเจตนาลวง หมายถึง การแสดงเจตนาที่เกิดจาการ
สมคบกันระหว่างคู่กรณีแห่งนิติกรรมโดยแสดงเจตนาทานิติ
กรรมออกมาเพื่อลวงบุคคลอื่นแต่ในความเป็นจริงไม่ต้องการ
ผูกพันตามนิติกรรมที่ได้แสดงออกมา
5. การแสดงเจตนาโดยสาคัญผิดในสาระสาคัญ หมายถึง การ
แสดงเจตนาที่เกิดจากการที่ผู้แสดงเจตนาเข้าใจข้อเท็จจริงไม่
ถูกต้องหรือไม่ตรงความเป็นจริงและข้อเท็จจริงที่เข้าใจผิดไปนั้น
เป็นสาระสาคัญของนิติกรรม เช่น
1) สาคัญผิดในลักษณะของนิติกรรม
2) สาคัญผิดในตัวบุคคลซึ่งเป็นคู่กรณีแห่งนิติกรรม
3) สาคัญผิดในทรัพย์สินซึ่งเป็นวัตถุแห่งนิติกรรม
4) สาคัญผิดราคา
ผลของโมฆะกรรม
นิติกรรมที่ตกเป็นกฎหมายเสียเปล่าไม่ก่อให้เกิดผล
ในทางกฎหมายใดๆทั้งสิ้น สิทธิและหน้าที่ระหว่างคู่กรณีมีผล
เสมือนไม่ได้ทานิติกรรมกันเลย นิติกรรมที่เป็นโมฆะจึงไม่อาจ
ให้สัตยาบันแก่กันได้และผู้มีส่วนได้เสียคนใดคนหนึ่งชอบที่จะ
ยกความเสียเปล่าของนิติกรรมที่เป็นโมฆะขึ้นมากล่าวอ้าง
เมื่อใดก็ได้
• โมฆียะกรรม
โมฆียกรรม หมายถึง นิติกรรมที่กฎหมายได้ถือว่าสมบูรณ์
จนกว่าจะถูกบอกล้าง เนื่องจากเหตุที่ทาให้นิติกรรมตกเป็นโมฆียะ
นั้นยังบกพร่องไม่ร้ายแรงถึงขนาดที่จะทาให้นิติกรรมนั้นตกเป็นโมฆะ
สาเหตุที่ทาให้นิติกรรมตกเป็นโมฆียะ
1) ความสามารถหากนิติกรรมใดไม่ได้ทาโดยถูกต้องตาม
กฎหมายเกี่ยวกับความสามารถของบุคคลในการทานิติกรรม นิติ
กรรมนั้นย่อมตกเป็นโมฆียะ
2) การแสดงเจตนาโดยสาคัญผิดในคุณสมบัติ การแสดงเจตนา
โดยเข้าใจข้อเท็จจริงไม่ตรงกับความเป็นจริง
3) การแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้อฉล การแสดงเจตนา
โดยสาคัญผิดหรือเข้าใจผิดในข้อเท็จจริงเพราะถูกหลอกลวงโดย
คู่สัญญาหรือบุคคลภายนอก
4) การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขู่ การแสดงเจตนาเพราะ
ถูกคู่กรณีหรือบุคคลภายนอกข่มขู่ด้วยภัยอันใกล้จะถึง อีกทั้งต้อง
ร้ายแรงถึงขนาดที่จะทาให้ผู้ถูกข่มขู่กลัวจนยอมทาตามที่ถูกข่มขู่
 ผลของโมฆียกรรม
นิติกรรมที่ตกเป็นโมฆียะย่อมมีผลสมบูรณ์จนกว่าจะมีผล
บอกล้างโดยผู้ทานิติกรรมที่ตกเป็นโมฆียะเลือกได้ว่าจะให้
สัตยาบันหรือบอกล้างให้นิติกรรมนั้นเสียเปล่าตั้งแต่เริ่มต้นอันจะ
ทาให้สถานะทางกฎหมายกลับคืนสู่สภาพเดิม
บุคคลที่มีสิทธิให้สัตยาบันหรือบอกล้างโมฆียกรรม ได้แก่
1) นิติกรรมที่เกิดจากความบกพร่องในความสามารถของ
ผู้ทานิติกรรม
2) นิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาโดยสาคัญผิดใน
คุณสมบัติ
3) นิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาโดยถูกกลฉ้อฉล
4) นิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาโดยถูกข่มขู่
การแสดงเจตนา
1. การแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งอยู่เฉพาะหน้า
หมายถึงการแสดงเจตนาที่ผู้แสดงเจตนาสามารถติดต่อสื่อสารทาความเข้าใจ
ต่อผู้รับการแสดงเจตนาได้ทันทีโดยไม่ต้องรอ ได้แก่การคุยต่อหน้า การคุยกันทาง
โทรศัพท์
2. การแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งไม่ได้อยู่เฉพาะหน้า
มีลักษณะที่ผู้รับไม่สามารถทราบเจตนาได้ทันทีแต่ต้องทิ้งช่วงเวลา ได้แก่ การ
แสดงด้วยการส่งจดหมาย การส่งโทรเลข การส่งโทรสารที่ผู้รับไม่ได้รอรับอยู่ที่ปลายทาง
การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( E-mail)
เงื่อนไข
หมายถึง ข้อความที่บังคับให้นิติกรรมเป็นผลหรือผลสิ้นผลต่อเมื่อมีเหตุการณ์อัน
ไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่ในอนาคต มี 2 ประเภท คือ
1. เงื่อนไขบังคับก่อน
หมายถึง ข้อความที่ระบุเหตุการณ์อันไม่แน่นอนไว้ และ ถ้าเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นนิติกรรม
ก็จะมีผล
2. เงื่อนไขบังคับหลัง
หมายถึง ข้อความที่ระบุเหตุการณ์อันไม่แน่นอนไว้ และ ถ้าเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นนิติกรรม
ผลก็สิ้นสุดไป
เงื่อนไขเวลา
หมายถึง ข้อความที่บังคับไว้ให้นิติกรรมเป็นผลหรือสิ้นผลต่อเมื่อถึง
กาหนดระยะเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต มี 2 ประเภท คือ
1. เงื่อนไขเวลาเริ่มต้น
ระยะเวลาที่ผู้ทานิติกรรมกาหนดขึ้น เมื่อครบกาหนดระยะเวลาดังกล่าวนิติกรรมก็จะมีผล
บังคับใช้ปฏิบัติตามนิติกรรมนั้น
2. เงื่อนไขเวลาสิ้นสุด
ระยะเวลาที่ผู้ทานิติกรรมกาหนดขึ้น เมื่อครบกาหนดระยะเวลาดังกล่าว นิติกรรมก็จะ
สิ้นสุดไป
อายุความ
อายุความ
การกาหนดระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดให้เจ้าหนี้
สามารถใช้สิทธิเรียกร้องของตนด้วยการฟ้ องร้องต่อ
ศาล หากไม่ได้ใช้สิทธิของตนภายในเวลากาหนดสิทธิ
เรียกร้องจะขาดอายุความ
คดีตัวอย่าง
เปิดเบื้องหลังคดี พจนมาน-บรรณพจน์'ใช้'นิติกรรม
อาพราง'เลี่ยงภาษีโอนหุ้นชินฯ546ล้าน
ศาลอาญามีคาพิพากษาเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2551 จาคุกนายบรรณ
พจน์ ดามาพงศ์ อดีตประธานคณะกรรมการชินคอร์ปอเรชั่น จากัด
(มหาชน) คุณหญิงพจมาน ชินวัตร ภรรยา พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีต
นายกรัฐมนตรีคนละ 3 ปี และนางกาญจนาภา หงษ์เหิน เลขานุการ
คุณหญิงพจมาน 2 ปี ฐานร่วมกันจงใจหลีกเลี่ยงภาษีการโอนหุ้นชินคอร์ป
มูลค่า 546ล้านบาท
คดีตัวอย่าง
มติครม.ถมเงินระบายข้าวถุง 7พันล.ชงผ่านกลั่นกรองชุด“กิตติ
รัตน์”...
เปิดเส้นทาง "มติ ครม."ถมเงินโครงการทุจริตระบายข้าวถุง 7,100
ล้าน พบชงผ่านคณะกรรมการกลั่นกรองชุด “กิตติรัตน์” ก่อนไฟ
เขียวตามข้อเสนอกระทรวงพาณิชย์ ไร้ข้อทักท้วง?
สมาชิกกลุ่ม
 1 นางสาวมาลัย กะโห้ รหัส 531120915
 2 นางสาวพรพิมล พรหมมีเนตร รหัส 531120916
 3 นางสาวรัตนาภรณ์ อยู่เจริญ รหัส 531120920
 4 นางสาวกมลทิพย์ รอดกระสิกรรม รหัส 531120940

More Related Content

กฎหมายȨติกรรม