ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
กฎหมายลักษณะมรึϸ
สมาชิก
1.นางสาวชลธิชา ชนะวงษ์รหัส531121002
5.นางสาวณัฐสุดาต๊ะก๋า รหัส531121032
4.นางสาวสุนิสา นามนตรี รหัส531121007
3.นางสาวศรัญญา ดวงแก้วรหัส 531121005
2.นายภิญโญ เหล็กเพชร รหัส531121004
มรดก หรือ กองมรดก ของผู้ตาย หมายถึง ทรัพย์สินของ
ผู้ตาย รวมถึงสิทธิหน้าที่ และความรับผิดต่างๆ ของผู้ตายที่มีอยู่
ขณะตาย เว้นแต่ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่และความรับผิดนั้นเป็น
เรื่องเฉพาะตัวโดยแท้ของผู้ตาย เช่น บ้าน ที่ดิน รถยนต์เงินาาก
กฎหมายลักษณะมรึϸ
1.ความหมาย
ส่วนทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบที่มีลักษณะ เป็น
การเฉพาะตัวโดยแท้ของผู้ตาย ย่อมไม่เป็นมรดก เช่น สิทธิอาศัย สิทธิเก็บกิน
สิทธิของผู้เช่าตามสัญญาเช่าทรัพย์สิน หน้าที่ของลูกจ้างตามสัญญาจ้าง
แรงงานและหน้าที่ที่ต้องทาเฉพาะตัว เช่น
จ้างไปร้องเพลง
ตาย
2.เวลาที่มรดกตกทอดแก่ทายาท
มรดกนั้นจะตกทอดไปยังทายาททันทีเมื่อเจ้ามรดกตาย ซึ่ง
การตายของเจ้าของมรดกอาจเป็นการตายโดยธรรมชาติหรือเป็น
การตายโดยผลของกฎหมาย ( การสาบสูญ ) ก็ได้อย่างไรก็ดี มีข้อง
สังเกตว่า เจ้ามรดก ต้องเป็นบุคคลธรรมดาเท่านั้น นิติบุคคลไม่
สามารถเป็นเจ้ามรดกได้
3.ผู้มีสิทธิได้รับมรดก
ทายาทผู้มีสิทธิได้รับมรดกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
3.1ทายาทโดยธรรม หมายถึง ทายาทที่มีสิทธิได้รับมรดกตามกฎหมาย
อันได้แก่ ญาติและคู่สมรสของผู้ตาย
3.1.1ทายาทโดยธรรมประเภทญาติ กฎหมายได้กาหนดลาดับญาติที่มี
สิทธิได้รับมรดกก่อนหลัง
ลาดับที่ 1 ผู้สืบสันดาน
ลาดับที่ 2 บิดามารดา
ลาดับที่ 3 พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
ลาดับที่ 4 พี่น้องร่วมแต่บิดาหรือร่วมแต่มารดา
ลาดับที่ 5 ปู่ ย่า ตา ยาย
ลาดับที่ 6 ลุง ป้า น้า อา
(ต่อ)3.ผู้มีสิทธิได้รับมรดก
ทายาทผู้มีสิทธิได้รับมรดกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
3.1.2 ทายาทโดยกรรมประเภทคู่สมรส หมายถึง คู่สมรสที่
ชอบด้วย กฎหมายของเจ้ามรดกเป็นทายาทโดยธรรมที่มีสิทธิรับมรดกเสมอ
3.2.ผู้รับพินัยกรรม หมายถึง บุคคลซึ่งผู้ตายทาพินัยกรรมยก
ทรัพย์สินอันเป็นทรัพย์มรดกให้ ผู้รับพินัยกรรมนั้นอาจเป็นญาติพี่น้องของ
ผู้ตายหรือบุคคลภายนอกก็ได้ และอาจเป็นบุคคลธรรมดา หรือ
นิติบุคคลก็ได้
4.การรับมรดกของพระภิกษุ
เมื่อพระภิกษุมรณภาพ ทรัพย์สินของพระภิกษุที่ได้มา
ระหว่างเวลาที่บวชอยู่ ให้ตกเป็นสมบัติของวัดที่เป็นภูมิลาเนาของ
พระภิกษุนั้น เว้นแต่พระภิกษุจะได้ทาพินัยกรรมยกทรัพย์สินดังกล่าว
ให้แก่ผู้อื่น ส่วนทรัพย์สินที่ได้มาก่อนบวชเป็นพระภิกษุไม่ตกเป็น
สมบัติวัดแต่ให้เป็นมรดกตกทอดแก่ทายาทของพระภิกษุนั้น
ก่อนเป็นพระ หม่าซื้อที่ดิน ตอนเป็นพระซื้อที่ดิน 10 ไร่ าากเธนาคาร 2ล้าน
มรณะภาพ
5.การเสียสิทธิในการรับมรดก
1.การถูกกาจัดไม่ให้รับมรดก
2.การถูกตัดไม่ให้รับมรดก
3.การสละมรดก
6.พินัยกรรม
ความหมายของพินัยกรรม
พินัยกรรม หมายถึง นิติกรรมซึ่งบุคคลได้แสดงเจตนาา่าย
เดียวกาหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ ตลอดจน
ความรับผิดชอบของตนเมื่อตนได้ตายไปแล้วโดยพินัยกรรมต้องทา
ตามแบบกฎหมายกาหนดเท่านั้น และพินัยกรรมพินัยกรรมจะมีผล
เมื่อผู้ทาพินัยกรรมตาย เช่น ดาทาพินัยกรรมยกทรัพย์สินทั้งหมด
ของตนไห้แก่แดงบิดาของตน และยกศพของตนให้กับโรงพยาบาล
ศิริราชเพื่อประโยชน์ในการศึกษา พินัยกรรมที่ดาทาขึ้นมาจะมีผล
เมื่อดาตาย
ผู้ทาพินัยกรรม
๑) ผู้ทาพินัยกรรมจะต้องมีอายุอย่างน้อย ๑๕ ปีบริบูรณ์ หากพินัยกรรม
กระทาโดยบุคคลที่มีอายุยังไม่ครบ ๑๕ ปีบริบูรณ์ พินัยกรรมนั้นตกเป็น
โมฆะ
๒) คนไร้ความสามารถจะทาพินัยกรรมไม่ได้ พินัยกรรมที่ทาขึ้นโดย
คนไร้ความสามารถย่อมตกเป็นโมฆะ
๓) พินัยกรรมที่ทาขึ้นโดยคนวิกลจริตจะตกเป็นโมฆะก็ต่อเมื่อพิสูจน์ได้
ว่าผู้ทาพินัยกรรมในขณะที่จริตวิกล หากผู้นั้นทาพินัยกรรมในขณะที่
ไม่ได้จริตวิกล พินัยกรรมนั้นมีผลสมบูรณ์
ผู้ทาพินัยกรรม
บุคคลที่ไม่สามารถเป็นผู้รับพินัยกรรมได้
บุคคลที่ไม่สามารถเป็นผู้รับพินัยกรรมได้มีอยู่ ๔ ประเภท คือ
(๑) ผู้เขียนพินัยกรรมและคู่สมรสผู้เขียนพินัยกรรม
(๒) พยานในพินัยกรรมและคู่สมรสของพยานทาพินัยกรรม
(๓) พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งได้จดแจ้งข้อความแห่งพินัยกรมแบบทาด้วย
วาจาและคู่สมรสของพนักงานเจ้าหน้าที่นั้น
(๔) ในกรณีที่ผู้เยาว์ทาพินัยกรรม ผู้ปกครองของผู้เยาว์ รวมไปถึงคู่
สมรส บุพการี หรือ ผู้สืบทอดสันดาน หรือพี่น้องของผู้ปกครองเป็น
ผู้รับพินัยกรรมไม่ได้ เว้นแต่ผู้ปกครองได้ทาแถลงการณ์ปกครองแล้ว
มี ๓ ประเภท คือ
(๑) บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
(๒) คนไร้ความสามารถ หรือคนวิกลจริต หรือคนเสมือนไร้
ความสามารถ
(๓) บุคคลที่หูหนวก หรือเป็นใบ้ หรือตาบอดทั้งสองข้าง
บุคคลที่ไม่สามารถเป็นพยานในการทาพินัยกรรมได้
โดยกฎหมายกาหนดแบบของพินัยกรรมไว้๕ แบบ ดังนี้
พินัยกรรมแบบธรรมดา
พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ
พินัยกรรมแบบเอกสารา่ายเมือง
พินัยกรรมแบบเอกสารลับ
พินัยกรรมแบบทาด้วยวาจา
แบบของพินัยกรรม
7.มรดกที่ไม่มีผู้รับ
เมื่อบุคคลใดถึงแก่ความตายโดยไม่มีทายาทโดยธรรม
หรือผู้รับพินัยกรรม มรดกของบุคคลนั้นตกแก่แผ่นดิน
1.ใครคือทายาทที่มีสิทธิได้รับมรดกตามกฎหมาย
ก. ญาติ
ข. เพื่อน
ค. คู่สมรสของผู้ตาย
ง. ถูกทั้ง ก และ ค
คาถาม
2.ผู้ทาพินัยกรรมต้องมีอายุอย่างน้อยเท่าไร
ก. 15
ข. 18
ค. 20
ง. 21
3.ทรัพย์สินของพระภิกษุที่ได้มาระหว่างเวลาที่บวชให้ทรัพย์สินนั้นตกเป็น
ของผู้ใด
ก. วัดที่เป็นภูมิลาเนาของพระภิกษุ
ข. ญาติของพระภิกษุ
ค. บุตรของพระภิกษุ
ง. ไม่มีข้อถูก
4.การเสียสิทธิในการรับมรดกข้อใดไม่ถูกต้อง
ก.การถูกกาจัดไม่ให้รับมรดก
ข.การสละมรดก
ค.การถูกตัดไม่ให้รับมรดก
ง.ถูกทุกข้อ
5.บุคคลที่ไม่สามารถเป็นพยานในการทาพินัยกรรมได้คือผู้ใด
ก.คู่สมรส
ข.บุตร
ค.คู่สมรสบุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ง.บุพการี
1. ตอบข้อ ง เพราะทายาทโดยธรรมประเภทญาติ กฎหมายได้กาหนด
ลาดับญาติที่มีสิทธิได้รับมรดกก่อนหลัง ทายาทโดยกรรมประเภทคู่
สมรส หมายถึง คู่สมรสที่ชอบด้วยกฎหมายของเจ้ามรดกเป็นทายาท
โดยธรรมที่มีสิทธิรับมรดกเสมอ
เฉลย
2. ตอบ ก ผู้ทาพินัยกรรมจะต้องมีอายุอย่างน้อย ๑๕ ปีบริบูรณ์ หาก
พินัยกรรมกระทาโดยบุคคลที่มีอายุยังไม่ครบ ๑๕ ปีบริบูรณ์ พินัยกรรม
นั้นตกเป็นโมฆะ
3. ตอบ ก เมื่อพระภิกษุมรณภาพ ทรัพย์สินของพระภิกษุที่ได้มาระหว่าง
เวลาที่บวชอยู่ ให้ตกเป็นสมบัติของวัดที่เป็นภูมิลาเนาของพระภิกษุนั้น
เว้นแต่พระภิกษุจะได้ทาพินัยกรรมยกทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่ผู้อื่น ส่วน
ทรัพย์สินที่ได้มาก่อนบวชเป็นพระภิกษุไม่ตกเป็นสมบัติวัดแต่ให้เป็น
มรดกตกทอดแก่ทายาทของพระภิกษุนั้น
4. ตอบ ง การเสียสิทธิในการรับมรดกเป็นกรณีที่ทายาทโดนชอบธรรม
หรือผู้รับพินัยกรรมไม่มีสิทธิได้รับมรดกอีกต่อไปเมื่อมีเหตุการณ์อย่างใด
อย่างหนึ่งใน 3ประการคือ การถูกกาจัดไม่ให้รับมรดก การสละมรดก
การถูกตัดไม่ให้รับมรดก
5. ตอบ ค บุคคลที่ไม่สามารถเป็นพยานในการทาพินัยกรรมได้มี ๓
ประเภท คือ บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ คนไร้ความสามารถ หรือคน
วิกลจริต หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ บุคคลที่หูหนวก หรือเป็นใบ้
หรือตาบอดทั้งสองข้าง

More Related Content

กฎหมายมรึϸ