ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
สมาชิก
นางสาวนิภาพร ศิลป์ อยู่ รหัส 531120912
นางสาวอรวรรณ รักษ์ชน รัหส 531120920
กฎหมายทรัพย์สิȨางปัญญา
- ความหมาย
- กฎหมายลิขสิทธิ์
- กฎหมายสิทธิบัตร
- กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายทรัพย์สิȨางปัญญา
ความหมาย
สิทธิเกี่ยวกับผลงานสร่งสรรค์ประเภทต่างๆ อันเกิดจากความคิดหรือ
ปัญญาของมนุษย์ ซึ่งกฎหมายเห็นความสาคัญของผลงานสร้างสรรค์ที่เป็ น
ประโยชน์แก่สังคม ได้แก่ ลิขสิทธ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า
ลักษณะของทรัพย์สินทางปัญญา
1. ทรัพย์สินทางปัญญาเป็ นทรัพย์สินอย่างหนึ่ง แต่สิทธิในทรัพย์สินทาง
ปัญญาเป็ นสิทธิที่ไม่มีรูปร่าง
2. สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญามีอายุการคุ้มครองที่จากัดภายใต้ระยะเวลาที่
กฎหมายกาหนดไม่ได้ให้ความคุ้มครองตลอดไป
3. การได้มาซึ่งสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาจะต้องเป็ นไปตามกฎหมาย
กฎหมายลิขสิทธิ์
สิทธิแต่ผู้เดียวของเจ้าของสิทธิที่จะกระทาการใดๆ อันเกี่ยวกับ
งานที่สร้างสรรค์ได้กระทาขึ้น
- ลักษณะทั่วไปของงานอันมีลิขสิทธิ์มี4 ประกาศดังนี้
1. ต้องเป็ นงานที่แสดงออกซึ่งความคิด
2. ต้องเป็ นงานที่สร้างสรรค์ด้วยตนเอง
3. ต้องเป็ นงานที่กฎหมายกาหนด
4. ต้องเป็ นงานที่ไม่ขัดต่อกฎหมาย
- งานอันไม่มีลิขสิทธิ์
- ระบบการให้ความคุ้มครองงานอันมีลิขสิทธิ์
- อายุแห่งการคุ้มครองลิขสิทธิ์
- การละเมิดลิขสิทธิ์
- ข้อยกเว้นของการละเมิดลิขสิทธิ์
กฎหมายสิทธิบัตร
หนังสือสาคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์หรือการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ โดยเจ้าของสิทธิบัตรมีสิทธิแต่ผู้เดียวในการแสวงหาประโยชน์
จากการประดิษฐ์ที่ได้รับสิทธิบัตร
ประเภทของสิทธิบัตร
- สิทธิบัตรการประดิษฐ์
- สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์
- อนุสิทธิบัตร
ลักษณะของการประดิษฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์
ที่ขอรับสิทธิบัตรได้
- สิทธิบัตรการประดิษฐ์
- สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์
- อนุสิทธิบัตร
ลักษณะของการประดิษฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่
ขอรับสิทธิบัตรไม่ได้
- ประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์และอนุสิทธิบัตรไม่ได้
- การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ไม่ได้
ระบบการให้ความคุ้มครองสิทธิบัตร
อายุแห่งการคุ้มครองสิทธิบัตร
กฎหมายเครื่องหมาย
การค้า
เครื่องหมายที่ใช้หรือจะใช้เป็ นที่หมายหรือเกี่ยวข้องเกี่ยวกับสินค้าเพื่อ
แสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายของเจ้าของเครื่องหมายการค้านั้นแตกต่างกับ
สินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น
ลักษณะของเครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนได้
- ต้องเป็นเครื่องหมายการค้าที่มีลักษณะบ่งเฉพาะ
- ต้องเป็นเครื่องหมายการค้าที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย
- ต้องเป็นเครื่องหมายการค้าที่ไม่เหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้าที่
บุคคลอื่นได้จดทะเบียนได้แล้ว
ระบบการให้ความคุ้มครองเครื่องหมายการค้า
อายุแห่งการคุ้มครองเครื่องหมายการค้า
กฎหมายทรัพย์สิȨางปัญญา

More Related Content

กฎหมายทรัพย์สิȨางปัญญา