ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
คําแนะนําการจดทะเบียนพาณิชยอิเล็กทรอนิกส
กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย เปนหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบในการสงเสริม
พาณิชยอิเล็กทรอนิกส และภารกิจหนึ่งที่สําคัญ คือ การกระตุนใหผูประกอบการพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมา
จดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการคา และการออกเครื่องหมายรับรองการจดทะเบียนพาณิชย
อิเล็กทรอนิกส (DBDregistered) ใหแกผูประกอบการที่จดทะเบียน
ปจจุบัน กระทรวงพาณิชย ไดถายโอนอํานาจจดทะเบียนพาณิชยไปใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น
ทั้งหมดแลว โดยที่กระทรวงพาณิชยยังเปนผูรักษาการตามกฎหมาย พ.ร.บ.ทะเบียนพาณิชย พ.ศ. 2499
กํากับดูแลดานนโยบายในการจดทะเบียนพาณิชย และเปนศูนยกลางขอมูลทะเบียนพาณิชยทั่วราชอาณาจักร
ในสวนของกรมพัฒนาธุรกิจการคา ยังคงมีบทบาทหนาที่ในการสงเสริมพาณิชยอิเล็กทรอนิกส
ตอไป เพื่อเพิ่มโอกาสและขยายชองทางการตลาดใหแกผูประกอบการ โดยผูประกอบการพาณิชย
อิเล็กทรอนิกสที่จดทะเบียนแลว ยังคงไดรับสิทธิประโยชนตาง ๆ จากกรมพัฒนาธุรกิจการคาเชนเดิม
ประโยชนของการจดทะเบียนพาณิชยอิเล็กทรอนิกส
1. สรางความนาเชื่อถือใหแกผูประกอบการในระดับหนึ่ง โดยกรมพัฒนาธุรกิจการคาจะออก
เครื่องหมายรับรองการจดทะเบียนพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (DBDregistered) ใหแกผูประกอบการที่
จดทะเบียน เพื่อนําไปแสดงไวบนเว็บไซตของตนเอง เมื่อผูบริโภค (ผูซื้อ) เห็นเครื่องหมาย DBDregistered
แลวจะเกิดความมั่นใจในการทําธุรกรรมพาณิชยอิเล็กทรอนิกสเพิ่มมากขึ้น
2. กรมพัฒนาธุรกิจการคา จะนํารายชื่อเว็บไซตที่จดทะเบียนพาณิชยอิเล็กทรอนิกสแลว ไปเผยแพร
ไวบนเว็บไซตของกรมฯ (www.dbd.go.th) เพื่อชวยประชาสัมพันธเว็บไซตของผูประกอบการอีกชองทาง
หนึ่ง
3. ผูประกอบการพาณิชยอิเล็กทรอนิกสที่จดทะเบียนแลว สามารถยื่นขอใชเครื่องหมายรับรอง
ความนาเชื่อถือ (DBDverified) จากกรมพัฒนาธุรกิจการคาได ซึ่งเครื่องหมาย DBDverified นี้จะมี
ความนาเชื่อถือสูงกวาเครื่องหมาย DBDregistered กลาวคือ จะออกใหแกเว็บไซตที่มีคุณภาพเปนไปตาม
หลักเกณฑที่กรมฯ กําหนดเทานั้น (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ www.trustmarkthai.com)
4. การไดรับสิทธิพิเศษตาง ๆ เชน การเขารวมอบรมสัมมนา การไดรับคําแนะนํา และการไดรับ
ขอมูลขาวสารดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกส เปนตน
ยื่นขอจดทะเบียน จัดสงขอมูลทางทะเบียน
รับจดทะเบียน
ในเขตทองที่ที่รับผิดชอบ
ออกเครื่องหมาย DBDregistered
- จัดทําขอมูลทางทะเบียน
- เผยแพรรายชื่อเว็บไซตที่จด
ทะเบียนเว็บไซตกรมฯ
- จัดสง Source Code
กรณีเรงดวน ติดตอขอรับ Source Code (เครื่องหมาย REGISTERED) โดยตรงที่กรมพัฒนาธุรกิจการคา
ขั้นตอนการขอรับเครื่องหมาย DBDregistered
ผูมีหนาที่จดทะเบียนพาณิชยอิเล็กทรอนิกส
1. ซื้อขายสินคาหรือบริการ ผานเครือขายอินเทอรเน็ต
2. บริการอินเทอรเน็ต (Internet Service Provider : ISP)
3. ใหเชาพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย (Web Hosting)
4. บริการเปนตลาดกลางในการซื้อขายสินคาหรือบริการ (e-Marketplace)
ตัวอยางเว็บไซตที่เขาขายตองจดทะเบียน
- มีระบบการสั่งซื้อ เชน ระบบกรอกฟอรม ระบบตะกรา e-mail หรืออื่น ๆ
- มีระบบการชําระเงิน ออฟไลน หรือ ออนไลน เชน การโอนเงินผานระบบบัญชี การชําระดวยบัตรเครดิต
หรือ e-cash เปนตน
- มีระบบสมัครสมาชิก เพื่อรับบริการขอมูลหรืออื่น ๆ โดยมีการคิดคาใชจาย (ถือเปนการขายบริการ)
- มีวัตถุที่ประสงคหลักในการรับจางโฆษณาสินคาหรือบริการของผูอื่น และมีรายไดจากการโฆษณานั้น
- รับจางออกแบบเว็บไซต หรือเพียงโฆษณาวาเปนผูรับจางออกแบบเว็บไซต (ถือวาการออกแบบเว็บไซต
นั้นมีชองทางการคาปกติบนอินเทอรเน็ต)
ผูประกอบการ
พาณิชยอิเล็กทรอนิกส
กทม.
อบต.
เทศบาล
กรมพัฒนาธุรกิจการคา
www.dbd.go.th
ออกใบสําคัญ
- เว็บไซตใหบริการเกมสออนไลนที่คิดคาบริการจากผูเลน (เจาของเว็บไซตตองจดทะเบียน)
- เว็บไซตที่มีการสงมอบสินคาหรือบริการผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต เชน การ Download เพลง
โปรแกรม เกมส Ringtone Screensaver SMS เปนตน
ตัวอยางเว็บไซตที่ ไมตองจดทะเบียน
- มีเฉพาะหนารานโชวสินคาของตนเอง แตทําการคาในชองทางปกติ (ไมใชอินเทอรเน็ต) แมจะมีขอความ
แจงวาใหติดตอได เชน สนใจโทร.ติดตอ… หรือ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ….
- การโฆษณาสินคาของตนเอง โดยลักษณะของการโฆษณานั้นไมใชวัตถุที่ประสงคหลักของกิจการและ
ไมใชชองทางคาปกติ แมจะมี banner ของผูอื่นมาติดและมีรายไดจาก banner ก็ตาม
- การประชาสัมพันธหรือเผยแพรขอมูลแกสมาชิกหรือบุคคลทั่วไป โดยไมคิดคาใชจายหรือบริการ เชน เพื่อ
การสอน ประกาศรับสมัครงาน
- การประชาสัมพันธขอมูลเกี่ยวกับบริษัท หรือสินคา
- เว็บไซตสวนตัว (สวนบุคคล) ที่สรางขึ้นเพื่อเผยแพรขอมูลสวนตัว การงาน การศึกษา หรือความสนใจ
สวนตัว
- เว็บไซตที่เปนสื่อกลางดานขอมูล โดยมีจุดประสงคในการแลกเปลี่ยนขอมูล โดยไมมีการเสียคาสมาชิก
หรือคาใชจายใด ๆ
สถานที่จดทะเบียน
1. ผูประกอบการที่มีสํานักงานแหงใหญตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ใหยื่นคําขอจดทะเบียนพาณิชย
ตอสํานักงานเขตตาง ๆ และศาลาวาการกรุงเทพมหานคร
2. ผูประกอบการที่มีสํานักงานแหงใหญตั้งอยูจังหวัดอื่น นอกจากกรุงเทพมหานคร ใหยื่นคําขอจด
ทะเบียนพาณิชยตอองคการบริหารสวนตําบล หรือเทศบาล แลวแตกรณี
คําอธิบายเพิ่มเติม
บริการอินเทอรเน็ต (ISP : Internet Service Provider)
ก. กรณีนี้ ไมไดหมายความถึง รานบริการอินเทอรเน็ต หรือ รานอินเทอรเน็ตคาเฟ ที่มีเครื่องคอมพิวเตอร
สําหรับใหบริการในการเลนอินเทอรเน็ตหรือเกมสคอมพิวเตอร ประเภทนี้ไมตองจดทะเบียนพาณิชย
อิเล็กทรอนิกส แตใหจดทะเบียนพาณิชย (แบบธรรมดา)
ข. บริการอินเทอรเน็ต ในที่นี้หมายถึง ผูใหบริการอินเทอรเน็ต คือ หนวยงานที่บริการในการเชื่อมตอ
อินเทอรเน็ต กลาวคือ ใหบริการเชื่อมตอเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล หรือเครือขายคอมพิวเตอรของ
หนวยงานตาง ๆ เขากับ เครือขายอินเทอรเน็ตทั่วโลก ทําใหเราสามารถเขาถึงอินเทอรเน็ตได ซึ่งโดยปกติ
ในการเขาถึงอินเทอรเน็ต เราจะตองมีการเชื่อมตอสัญญาณกับผูใหบริการอินเทอรเน็ตกอน โดยเชื่อมตอ
ผานโมเด็ม (สายโทรศัพท) หรือ เชื่อมตอแบบบรอดแบนด (สายเคเบิล หรือ DSL)
ใหเชาพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย (Web Hosting)
คือ ผูใหบริการเว็บเซิรฟเวอร เพื่อทําหนาที่ในการรับฝากเว็บไซต เพื่อใหเว็บไซตตาง ๆ สามารถ
ออนไลน หรือมองเห็นบนอินเทอรเน็ตได
ทุกเว็บไซตที่ออนไลนบนอินเทอรเน็ตจะตองไดรับการฝาก หรือเก็บไวบนคอมพิวเตอรพิเศษ ที่
เรียกวา เครื่องเซิรฟเวอร (Server) หรือเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย ซึ่งเซิรฟเวอรนี้จะทําหนาที่เปนตัวติดตอ
กับเครื่องคอมพิวเตอรทุกแหงทั่วโลกตลอด 24 ชั่วโมง (ผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต)
ดังนั้น ในการทําเว็บไซต เพื่อใหออนไลนบนอินเทอรเน็ตได สิ่งแรกที่ตองมีคือ เครื่องเซิรฟเวอร ซึ่งมี
ราคาและคาใชจายในการดูแล คอนขางสูง ซึ่งหากเปนหนวยงานหรือองคกรใหญ ๆ มักจะมีเครื่อง Server เปน
ของตนเอง แตผูประกอบการรายยอยหรือบุคคลทั่วไป มักจะนําเว็บไซตของตนไปฝากไวกับเครื่อง Server ของ
ผูอื่น ซึ่งเสียคาใชจายนอยกวา โดยผูใหบริการเครื่อง Server จะคิดคาใชจายตามพื้นที่ (ขนาดของเว็บไซต) ที่
แบงใหเชา
สรุป ใหเชาพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย หรือ เว็บโฮสติ้ง ก็คือ ผูใหบริการในการเชาพื้นที่
ของเครื่อง Server นั่นเอง
บริการเปนตลาดกลางในการซื้อขายสินคาหรือบริการ
โดยวิธีการใชสื่ออิเล็กทรอนิกสผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ( หรือ e-Marketplace) คือ เว็บไซต
ที่เปนศูนยกลางในการรวบรวมสินคาและรานคาเปนจํานวนมาก เพื่อเปนสื่อกลางในการซื้อ-ขายสินคา
ระหวางกัน โดยรูปแบบของ E-Marketplace จะเปนการบริการในรูปแบบของเว็บไซต ที่เปดใหบุคคลทั่วไป
เขาไป post ซื้อขายสินคา หรือ ใหบริการหนาเว็บไซตสําเร็จรูป เพื่อใหผูประกอบการตาง ๆ เขามาเปดหนา
รานออนไลนบนเว็บไซตตลาดกลาง เพื่อขายสินคาหรือบริการตาง ๆ

More Related Content

การจึϸะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอȨกส์

  • 1. คําแนะนําการจดทะเบียนพาณิชยอิเล็กทรอนิกส กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย เปนหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบในการสงเสริม พาณิชยอิเล็กทรอนิกส และภารกิจหนึ่งที่สําคัญ คือ การกระตุนใหผูประกอบการพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมา จดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการคา และการออกเครื่องหมายรับรองการจดทะเบียนพาณิชย อิเล็กทรอนิกส (DBDregistered) ใหแกผูประกอบการที่จดทะเบียน ปจจุบัน กระทรวงพาณิชย ไดถายโอนอํานาจจดทะเบียนพาณิชยไปใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น ทั้งหมดแลว โดยที่กระทรวงพาณิชยยังเปนผูรักษาการตามกฎหมาย พ.ร.บ.ทะเบียนพาณิชย พ.ศ. 2499 กํากับดูแลดานนโยบายในการจดทะเบียนพาณิชย และเปนศูนยกลางขอมูลทะเบียนพาณิชยทั่วราชอาณาจักร ในสวนของกรมพัฒนาธุรกิจการคา ยังคงมีบทบาทหนาที่ในการสงเสริมพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ตอไป เพื่อเพิ่มโอกาสและขยายชองทางการตลาดใหแกผูประกอบการ โดยผูประกอบการพาณิชย อิเล็กทรอนิกสที่จดทะเบียนแลว ยังคงไดรับสิทธิประโยชนตาง ๆ จากกรมพัฒนาธุรกิจการคาเชนเดิม ประโยชนของการจดทะเบียนพาณิชยอิเล็กทรอนิกส 1. สรางความนาเชื่อถือใหแกผูประกอบการในระดับหนึ่ง โดยกรมพัฒนาธุรกิจการคาจะออก เครื่องหมายรับรองการจดทะเบียนพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (DBDregistered) ใหแกผูประกอบการที่ จดทะเบียน เพื่อนําไปแสดงไวบนเว็บไซตของตนเอง เมื่อผูบริโภค (ผูซื้อ) เห็นเครื่องหมาย DBDregistered แลวจะเกิดความมั่นใจในการทําธุรกรรมพาณิชยอิเล็กทรอนิกสเพิ่มมากขึ้น 2. กรมพัฒนาธุรกิจการคา จะนํารายชื่อเว็บไซตที่จดทะเบียนพาณิชยอิเล็กทรอนิกสแลว ไปเผยแพร ไวบนเว็บไซตของกรมฯ (www.dbd.go.th) เพื่อชวยประชาสัมพันธเว็บไซตของผูประกอบการอีกชองทาง หนึ่ง 3. ผูประกอบการพาณิชยอิเล็กทรอนิกสที่จดทะเบียนแลว สามารถยื่นขอใชเครื่องหมายรับรอง ความนาเชื่อถือ (DBDverified) จากกรมพัฒนาธุรกิจการคาได ซึ่งเครื่องหมาย DBDverified นี้จะมี ความนาเชื่อถือสูงกวาเครื่องหมาย DBDregistered กลาวคือ จะออกใหแกเว็บไซตที่มีคุณภาพเปนไปตาม หลักเกณฑที่กรมฯ กําหนดเทานั้น (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ www.trustmarkthai.com) 4. การไดรับสิทธิพิเศษตาง ๆ เชน การเขารวมอบรมสัมมนา การไดรับคําแนะนํา และการไดรับ ขอมูลขาวสารดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกส เปนตน
  • 2. ยื่นขอจดทะเบียน จัดสงขอมูลทางทะเบียน รับจดทะเบียน ในเขตทองที่ที่รับผิดชอบ ออกเครื่องหมาย DBDregistered - จัดทําขอมูลทางทะเบียน - เผยแพรรายชื่อเว็บไซตที่จด ทะเบียนเว็บไซตกรมฯ - จัดสง Source Code กรณีเรงดวน ติดตอขอรับ Source Code (เครื่องหมาย REGISTERED) โดยตรงที่กรมพัฒนาธุรกิจการคา ขั้นตอนการขอรับเครื่องหมาย DBDregistered ผูมีหนาที่จดทะเบียนพาณิชยอิเล็กทรอนิกส 1. ซื้อขายสินคาหรือบริการ ผานเครือขายอินเทอรเน็ต 2. บริการอินเทอรเน็ต (Internet Service Provider : ISP) 3. ใหเชาพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย (Web Hosting) 4. บริการเปนตลาดกลางในการซื้อขายสินคาหรือบริการ (e-Marketplace) ตัวอยางเว็บไซตที่เขาขายตองจดทะเบียน - มีระบบการสั่งซื้อ เชน ระบบกรอกฟอรม ระบบตะกรา e-mail หรืออื่น ๆ - มีระบบการชําระเงิน ออฟไลน หรือ ออนไลน เชน การโอนเงินผานระบบบัญชี การชําระดวยบัตรเครดิต หรือ e-cash เปนตน - มีระบบสมัครสมาชิก เพื่อรับบริการขอมูลหรืออื่น ๆ โดยมีการคิดคาใชจาย (ถือเปนการขายบริการ) - มีวัตถุที่ประสงคหลักในการรับจางโฆษณาสินคาหรือบริการของผูอื่น และมีรายไดจากการโฆษณานั้น - รับจางออกแบบเว็บไซต หรือเพียงโฆษณาวาเปนผูรับจางออกแบบเว็บไซต (ถือวาการออกแบบเว็บไซต นั้นมีชองทางการคาปกติบนอินเทอรเน็ต) ผูประกอบการ พาณิชยอิเล็กทรอนิกส กทม. อบต. เทศบาล กรมพัฒนาธุรกิจการคา www.dbd.go.th ออกใบสําคัญ
  • 3. - เว็บไซตใหบริการเกมสออนไลนที่คิดคาบริการจากผูเลน (เจาของเว็บไซตตองจดทะเบียน) - เว็บไซตที่มีการสงมอบสินคาหรือบริการผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต เชน การ Download เพลง โปรแกรม เกมส Ringtone Screensaver SMS เปนตน ตัวอยางเว็บไซตที่ ไมตองจดทะเบียน - มีเฉพาะหนารานโชวสินคาของตนเอง แตทําการคาในชองทางปกติ (ไมใชอินเทอรเน็ต) แมจะมีขอความ แจงวาใหติดตอได เชน สนใจโทร.ติดตอ… หรือ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ …. - การโฆษณาสินคาของตนเอง โดยลักษณะของการโฆษณานั้นไมใชวัตถุที่ประสงคหลักของกิจการและ ไมใชชองทางคาปกติ แมจะมี banner ของผูอื่นมาติดและมีรายไดจาก banner ก็ตาม - การประชาสัมพันธหรือเผยแพรขอมูลแกสมาชิกหรือบุคคลทั่วไป โดยไมคิดคาใชจายหรือบริการ เชน เพื่อ การสอน ประกาศรับสมัครงาน - การประชาสัมพันธขอมูลเกี่ยวกับบริษัท หรือสินคา - เว็บไซตสวนตัว (สวนบุคคล) ที่สรางขึ้นเพื่อเผยแพรขอมูลสวนตัว การงาน การศึกษา หรือความสนใจ สวนตัว - เว็บไซตที่เปนสื่อกลางดานขอมูล โดยมีจุดประสงคในการแลกเปลี่ยนขอมูล โดยไมมีการเสียคาสมาชิก หรือคาใชจายใด ๆ สถานที่จดทะเบียน 1. ผูประกอบการที่มีสํานักงานแหงใหญตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ใหยื่นคําขอจดทะเบียนพาณิชย ตอสํานักงานเขตตาง ๆ และศาลาวาการกรุงเทพมหานคร 2. ผูประกอบการที่มีสํานักงานแหงใหญตั้งอยูจังหวัดอื่น นอกจากกรุงเทพมหานคร ใหยื่นคําขอจด ทะเบียนพาณิชยตอองคการบริหารสวนตําบล หรือเทศบาล แลวแตกรณี คําอธิบายเพิ่มเติม บริการอินเทอรเน็ต (ISP : Internet Service Provider) ก. กรณีนี้ ไมไดหมายความถึง รานบริการอินเทอรเน็ต หรือ รานอินเทอรเน็ตคาเฟ ที่มีเครื่องคอมพิวเตอร สําหรับใหบริการในการเลนอินเทอรเน็ตหรือเกมสคอมพิวเตอร ประเภทนี้ไมตองจดทะเบียนพาณิชย อิเล็กทรอนิกส แตใหจดทะเบียนพาณิชย (แบบธรรมดา) ข. บริการอินเทอรเน็ต ในที่นี้หมายถึง ผูใหบริการอินเทอรเน็ต คือ หนวยงานที่บริการในการเชื่อมตอ อินเทอรเน็ต กลาวคือ ใหบริการเชื่อมตอเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล หรือเครือขายคอมพิวเตอรของ หนวยงานตาง ๆ เขากับ เครือขายอินเทอรเน็ตทั่วโลก ทําใหเราสามารถเขาถึงอินเทอรเน็ตได ซึ่งโดยปกติ
  • 4. ในการเขาถึงอินเทอรเน็ต เราจะตองมีการเชื่อมตอสัญญาณกับผูใหบริการอินเทอรเน็ตกอน โดยเชื่อมตอ ผานโมเด็ม (สายโทรศัพท) หรือ เชื่อมตอแบบบรอดแบนด (สายเคเบิล หรือ DSL) ใหเชาพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย (Web Hosting) คือ ผูใหบริการเว็บเซิรฟเวอร เพื่อทําหนาที่ในการรับฝากเว็บไซต เพื่อใหเว็บไซตตาง ๆ สามารถ ออนไลน หรือมองเห็นบนอินเทอรเน็ตได ทุกเว็บไซตที่ออนไลนบนอินเทอรเน็ตจะตองไดรับการฝาก หรือเก็บไวบนคอมพิวเตอรพิเศษ ที่ เรียกวา เครื่องเซิรฟเวอร (Server) หรือเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย ซึ่งเซิรฟเวอรนี้จะทําหนาที่เปนตัวติดตอ กับเครื่องคอมพิวเตอรทุกแหงทั่วโลกตลอด 24 ชั่วโมง (ผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต) ดังนั้น ในการทําเว็บไซต เพื่อใหออนไลนบนอินเทอรเน็ตได สิ่งแรกที่ตองมีคือ เครื่องเซิรฟเวอร ซึ่งมี ราคาและคาใชจายในการดูแล คอนขางสูง ซึ่งหากเปนหนวยงานหรือองคกรใหญ ๆ มักจะมีเครื่อง Server เปน ของตนเอง แตผูประกอบการรายยอยหรือบุคคลทั่วไป มักจะนําเว็บไซตของตนไปฝากไวกับเครื่อง Server ของ ผูอื่น ซึ่งเสียคาใชจายนอยกวา โดยผูใหบริการเครื่อง Server จะคิดคาใชจายตามพื้นที่ (ขนาดของเว็บไซต) ที่ แบงใหเชา สรุป ใหเชาพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย หรือ เว็บโฮสติ้ง ก็คือ ผูใหบริการในการเชาพื้นที่ ของเครื่อง Server นั่นเอง บริการเปนตลาดกลางในการซื้อขายสินคาหรือบริการ โดยวิธีการใชสื่ออิเล็กทรอนิกสผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ( หรือ e-Marketplace) คือ เว็บไซต ที่เปนศูนยกลางในการรวบรวมสินคาและรานคาเปนจํานวนมาก เพื่อเปนสื่อกลางในการซื้อ-ขายสินคา ระหวางกัน โดยรูปแบบของ E-Marketplace จะเปนการบริการในรูปแบบของเว็บไซต ที่เปดใหบุคคลทั่วไป เขาไป post ซื้อขายสินคา หรือ ใหบริการหนาเว็บไซตสําเร็จรูป เพื่อใหผูประกอบการตาง ๆ เขามาเปดหนา รานออนไลนบนเว็บไซตตลาดกลาง เพื่อขายสินคาหรือบริการตาง ๆ