ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
หนา ๔
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐
พระราชบัญญัติ
วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร
พ.ศ. ๒๕๕๐
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เปนปที่ ๖๒ ในรัชกาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหประกาศวา
โดยที่เปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ
สภานิติบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดสามสิบวันนับแตวันประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“ระบบคอมพิวเตอร” หมายความวา อุปกรณหรือชุดอุปกรณของคอมพิวเตอรที่เชื่อมการทํางาน
เขาดวยกัน โดยไดมีการกําหนดคําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานใหอุปกรณ
หรือชุดอุปกรณทําหนาที่ประมวลผลขอมูลโดยอัตโนมัติ
หนา ๕
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐
“ขอมูลคอมพิวเตอร” หมายความวา ขอมูล ขอความ คําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดา
ที่อยูในระบบคอมพิวเตอรในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอรอาจประมวลผลได และใหหมายความรวมถึง
ขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามกฎหมายวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสดวย
“ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร” หมายความวา ขอมูลเกี่ยวกับการติดตอสื่อสารของระบบ
คอมพิวเตอร ซึ่งแสดงถึงแหลงกําเนิด ตนทาง ปลายทาง เสนทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลา
ชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการติดตอสื่อสารของระบบคอมพิวเตอรนั้น
“ผูใหบริการ” หมายความวา
(๑) ผูใหบริการแกบุคคลอื่นในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึงกันโดย
ประการอื่น โดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ทั้งนี้ ไมวาจะเปนการใหบริการในนามของตนเอง หรือ
ในนามหรือเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น
(๒) ผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น
“ผูใชบริการ” หมายความวา ผูใชบริการของผูใหบริการไมวาตองเสียคาใชบริการหรือไมก็ตาม
“พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตาม
พระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได
หมวด ๑
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร
มาตรา ๕ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกันการเขาถึง
โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน
หนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๖ ผูใดลวงรูมาตรการปองกันการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรที่ผูอื่นจัดทําขึ้นเปนการเฉพาะ
ถานํามาตรการดังกลาวไปเปดเผยโดยมิชอบในประการที่นาจะเกิดความเสียหายแกผูอื่น ตองระวางโทษจําคุก
ไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
หนา ๖
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐
มาตรา ๗ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกันการเขาถึงโดยเฉพาะ
และมาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองปหรือปรับไมเกินสี่หมื่นบาท
หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๘ ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสเพื่อดักรับไว
ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นที่อยูระหวางการสงในระบบคอมพิวเตอร และขอมูลคอมพิวเตอรนั้น
มิไดมีไวเพื่อประโยชนสาธารณะหรือเพื่อใหบุคคลทั่วไปใชประโยชนไดตองระวางโทษจําคุกไมเกิน
สามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๙ ผูใดทําใหเสียหาย ทําลาย แกไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไมวาทั้งหมดหรือ
บางสวน ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นโดยมิชอบ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกิน
หนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๑๐ ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบ เพื่อใหการทํางานของระบบคอมพิวเตอร
ของผูอื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไมสามารถทํางานตามปกติไดตองระวางโทษจําคุก
ไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๑๑ ผูใดสงขอมูลคอมพิวเตอรหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกสแกบุคคลอื่นโดยปกปด
หรือปลอมแปลงแหลงที่มาของการสงขอมูลดังกลาว อันเปนการรบกวนการใชระบบคอมพิวเตอรของ
บุคคลอื่นโดยปกติสุข ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท
มาตรา ๑๒ ถาการกระทําความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐
(๑) กอใหเกิดความเสียหายแกประชาชน ไมวาความเสียหายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรือ
ในภายหลังและไมวาจะเกิดขึ้นพรอมกันหรือไม ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบป และปรับไมเกิน
สองแสนบาท
(๒) เปนการกระทําโดยประการที่นาจะเกิดความเสียหายตอขอมูลคอมพิวเตอร หรือระบบ
คอมพิวเตอรที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคง
ในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือการบริการสาธารณะ หรือเปนการกระทําตอขอมูลคอมพิวเตอรหรือ
ระบบคอมพิวเตอรที่มีไวเพื่อประโยชนสาธารณะ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามปถึงสิบหาป และ
ปรับตั้งแตหกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท
ถาการกระทําความผิดตาม (๒) เปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย ตองระวางโทษจําคุกตั้งแต
สิบปถึงยี่สิบป
หนา ๗
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐
มาตรา ๑๓ ผูใดจําหนายหรือเผยแพรชุดคําสั่งที่จัดทําขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนําไปใชเปนเครื่องมือ
ในการกระทําความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือ
มาตรา ๑๑ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๑๔ ผูใดกระทําความผิดที่ระบุไวดังตอไปนี้ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือ
ปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
(๑) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรปลอมไมวาทั้งหมดหรือบางสวน หรือ
ขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่นาจะเกิดความเสียหายแกผูอื่นหรือประชาชน
(๒) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่นาจะเกิด
ความเสียหายตอความมั่นคงของประเทศหรือกอใหเกิดความตื่นตระหนกแกประชาชน
(๓) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ อันเปนความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง
แหงราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการกอการรายตามประมวลกฎหมายอาญา
(๔) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามกและ
ขอมูลคอมพิวเตอรนั้นประชาชนทั่วไปอาจเขาถึงได
(๕) เผยแพรหรือสงตอซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรโดยรูอยูแลววาเปนขอมูลคอมพิวเตอรตาม (๑)
(๒) (๓) หรือ (๔)
มาตรา ๑๕ ผูใหบริการผูใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมใหมีการกระทําความผิดตามมาตรา ๑๔
ในระบบคอมพิวเตอรที่อยูในความควบคุมของตน ตองระวางโทษเชนเดียวกับผูกระทําความผิดตาม
มาตรา ๑๔
มาตรา ๑๖ ผูใดนําเขาสูระบบคอมพิวเตอรที่ประชาชนทั่วไปอาจเขาถึงไดซึ่งขอมูล
คอมพิวเตอรที่ปรากฏเปนภาพของผูอื่น และภาพนั้นเปนภาพที่เกิดจากการสรางขึ้น ตัดตอ เติม
หรือดัดแปลงดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่นาจะทําใหผูอื่นนั้น
เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือไดรับความอับอาย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือ
ปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ถาการกระทําตามวรรคหนึ่ง เปนการนําเขาขอมูลคอมพิวเตอรโดยสุจริต ผูกระทําไมมีความผิด
ความผิดตามวรรคหนึ่งเปนความผิดอันยอมความได
ถาผูเสียหายในความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสียกอนรองทุกข ใหบิดา มารดา คูสมรส หรือ
บุตรของผูเสียหายรองทุกขได และใหถือวาเปนผูเสียหาย
มาตรา ๑๗ ผูใดกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้นอกราชอาณาจักรและ
หนา ๘
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐
(๑) ผูกระทําความผิดนั้นเปนคนไทย และรัฐบาลแหงประเทศที่ความผิดไดเกิดขึ้นหรือ
ผูเสียหายไดรองขอใหลงโทษ หรือ
(๒) ผูกระทําความผิดนั้นเปนคนตางดาว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเปนผูเสียหายและ
ผูเสียหายไดรองขอใหลงโทษ
จะตองรับโทษภายในราชอาณาจักร
หมวด ๒
พนักงานเจาหนาที่
มาตรา ๑๘ ภายใตบังคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชนในการสืบสวนและสอบสวนในกรณีที่มี
เหตุอันควรเชื่อไดวามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจอยางหนึ่ง
อยางใด ดังตอไปนี้ เฉพาะที่จําเปนเพื่อประโยชนในการใชเปนหลักฐานเกี่ยวกับการกระทําความผิด
และหาตัวผูกระทําความผิด
(๑) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติ
นี้มาเพื่อใหถอยคํา สงคําชี้แจงเปนหนังสือ หรือสงเอกสาร ขอมูล หรือหลักฐานอื่นใดที่อยูในรูปแบบ
ที่สามารถเขาใจได
(๒) เรียกขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรจากผูใหบริการเกี่ยวกับการติดตอสื่อสารผานระบบ
คอมพิวเตอรหรือจากบุคคลอื่นที่เกี่ยวของ
(๓) สั่งใหผูใหบริการสงมอบขอมูลเกี่ยวกับผูใชบริการที่ตองเก็บตามมาตรา ๒๖ หรือที่อยู
ในความครอบครองหรือควบคุมของผูใหบริการใหแกพนักงานเจาหนาที่
(๔) ทําสําเนาขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร จากระบบคอมพิวเตอร
ที่มีเหตุอันควรเชื่อไดวามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่ระบบคอมพิวเตอรนั้นยัง
มิไดอยูในความครอบครองของพนักงานเจาหนาที่
(๕) สั่งใหบุคคลซึ่งครอบครองหรือควบคุมขอมูลคอมพิวเตอร หรืออุปกรณที่ใชเก็บ
ขอมูลคอมพิวเตอร สงมอบขอมูลคอมพิวเตอร หรืออุปกรณดังกลาวใหแกพนักงานเจาหนาที่
(๖) ตรวจสอบหรือเขาถึงระบบคอมพิวเตอร ขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร
หรืออุปกรณที่ใชเก็บขอมูลคอมพิวเตอรของบุคคลใด อันเปนหลักฐานหรืออาจใชเปนหลักฐานเกี่ยวกับ
การกระทําความผิด หรือเพื่อสืบสวนหาตัวผูกระทําความผิดและสั่งใหบุคคลนั้นสงขอมูลคอมพิวเตอร
ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ที่เกี่ยวของเทาที่จําเปนใหดวยก็ได
หนา ๙
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐
(๗) ถอดรหัสลับของขอมูลคอมพิวเตอรของบุคคลใด หรือสั่งใหบุคคลที่เกี่ยวของกับการ
เขารหัสลับของขอมูลคอมพิวเตอร ทําการถอดรหัสลับ หรือใหความรวมมือกับพนักงานเจาหนาที่ใน
การถอดรหัสลับดังกลาว
(๘) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอรเทาที่จําเปนเฉพาะเพื่อประโยชนในการทราบรายละเอียด
แหงความผิดและผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๑๙ การใชอํานาจของพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ
(๘) ใหพนักงานเจาหนาที่ยื่นคํารองตอศาลที่มีเขตอํานาจเพื่อมีคําสั่งอนุญาตใหพนักงานเจาหนาที่
ดําเนินการตามคํารอง ทั้งนี้ คํารองตองระบุเหตุอันควรเชื่อไดวาบุคคลใดกระทําหรือกําลังจะกระทําการ
อยางหนึ่งอยางใดอันเปนความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เหตุที่ตองใชอํานาจ ลักษณะของการกระทํา
ความผิด รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณที่ใชในการกระทําความผิดและผูกระทําความผิด เทาที่สามารถ
จะระบุได ประกอบคํารองดวยในการพิจารณาคํารองใหศาลพิจารณาคํารองดังกลาวโดยเร็ว
เมื่อศาลมีคําสั่งอนุญาตแลว กอนดําเนินการตามคําสั่งของศาล ใหพนักงานเจาหนาที่สงสําเนา
บันทึกเหตุอันควรเชื่อที่ทําใหตองใชอํานาจตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบให
เจาของหรือผูครอบครองระบบคอมพิวเตอรนั้นไวเปนหลักฐาน แตถาไมมีเจาของหรือผูครอบครอง
เครื่องคอมพิวเตอรอยู ณ ที่นั้น ใหพนักงานเจาหนาที่สงมอบสําเนาบันทึกนั้นใหแกเจาของหรือ
ผูครอบครองดังกลาวในทันทีที่กระทําได
ใหพนักงานเจาหนาที่ผูเปนหัวหนาในการดําเนินการตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ
(๘) สงสําเนาบันทึกรายละเอียดการดําเนินการและเหตุผลแหงการดําเนินการใหศาลที่มีเขตอํานาจ
ภายในสี่สิบแปดชั่วโมงนับแตเวลาลงมือดําเนินการ เพื่อเปนหลักฐาน
การทําสําเนาขอมูลคอมพิวเตอรตามมาตรา ๑๘ (๔) ใหกระทําไดเฉพาะเมื่อมีเหตุอันควรเชื่อ
ไดวามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ และตองไมเปนอุปสรรคในการดําเนินกิจการของ
เจาของหรือผูครอบครองขอมูลคอมพิวเตอรนั้นเกินความจําเปน
การยึดหรืออายัดตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะตองสงมอบสําเนาหนังสือแสดงการยึดหรือ
อายัดมอบใหเจาของหรือผูครอบครองระบบคอมพิวเตอรนั้นไวเปนหลักฐานแลวพนักงานเจาหนาที่จะ
สั่งยึดหรืออายัดไวเกินสามสิบวันมิได ในกรณีจําเปนที่ตองยึดหรืออายัดไวนานกวานั้น ใหยื่นคํารอง
ตอศาลที่มีเขตอํานาจเพื่อขอขยายเวลายึดหรืออายัดได แตศาลจะอนุญาตใหขยายเวลาครั้งเดียวหรือ
หลายครั้งรวมกันไดอีกไมเกินหกสิบวัน เมื่อหมดความจําเปนที่จะยึดหรืออายัดหรือครบกําหนดเวลา
ดังกลาวแลว พนักงานเจาหนาที่ตองสงคืนระบบคอมพิวเตอรที่ยึดหรือถอนการอายัดโดยพลัน
หนา ๑๐
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐
หนังสือแสดงการยึดหรืออายัดตามวรรคหาใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๒๐ ในกรณีที่การกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เปนการทําใหแพรหลาย
ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรที่อาจกระทบกระเทือนตอความมั่นคงแหงราชอาณาจักรตามที่กําหนดไวในภาคสอง
ลักษณะ ๑ หรือลักษณะ ๑/๑ แหงประมวลกฎหมายอาญา หรือที่มีลักษณะขัดตอความสงบเรียบรอย
หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน พนักงานเจาหนาที่โดยไดรับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจยื่นคํารอง
พรอมแสดงพยานหลักฐานตอศาลที่มีเขตอํานาจขอใหมีคําสั่งระงับการทําใหแพรหลายซึ่งขอมูล
คอมพิวเตอรนั้นได
ในกรณีที่ศาลมีคําสั่งใหระงับการทําใหแพรหลายซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรตามวรรคหนึ่ง ให
พนักงานเจาหนาที่ทําการระงับการทําใหแพรหลายนั้นเอง หรือสั่งใหผูใหบริการระงับการทําให
แพรหลายซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรนั้นก็ได
มาตรา ๒๑ ในกรณีที่พนักงานเจาหนาที่พบวา ขอมูลคอมพิวเตอรใดมีชุดคําสั่งไมพึง
ประสงครวมอยูดวย พนักงานเจาหนาที่อาจยื่นคํารองตอศาลที่มีเขตอํานาจเพื่อขอใหมีคําสั่งหาม
จําหนายหรือเผยแพร หรือสั่งใหเจาของหรือผูครอบครองขอมูลคอมพิวเตอรนั้นระงับการใช ทําลาย
หรือแกไขขอมูลคอมพิวเตอรนั้นได หรือจะกําหนดเงื่อนไขในการใช มีไวในครอบครอง หรือ
เผยแพรชุดคําสั่งไมพึงประสงคดังกลาวก็ได
ชุดคําสั่งไมพึงประสงคตามวรรคหนึ่งหมายถึงชุดคําสั่งที่มีผลทําใหขอมูลคอมพิวเตอร หรือ
ระบบคอมพิวเตอรหรือชุดคําสั่งอื่นเกิดความเสียหาย ถูกทําลาย ถูกแกไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติม
ขัดของ หรือปฏิบัติงานไมตรงตามคําสั่งที่กําหนดไว หรือโดยประการอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
ทั้งนี้ เวนแตเปนชุดคําสั่งที่มุงหมายในการปองกันหรือแกไขชุดคําสั่งดังกลาวขางตน ตามที่รัฐมนตรี
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๒๒ หามมิใหพนักงานเจาหนาที่เปดเผยหรือสงมอบขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูล
จราจรทางคอมพิวเตอร หรือขอมูลของผูใชบริการ ที่ไดมาตามมาตรา ๑๘ ใหแกบุคคลใด
ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับกับการกระทําเพื่อประโยชนในการดําเนินคดีกับผูกระทําความผิด
ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือเพื่อประโยชนในการดําเนินคดีกับพนักงานเจาหนาที่เกี่ยวกับการใชอํานาจหนาที่
โดยมิชอบ หรือเปนการกระทําตามคําสั่งหรือที่ไดรับอนุญาตจากศาล
พนักงานเจาหนาที่ผูใดฝาฝนวรรคหนึ่งตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกิน
หกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
หนา ๑๑
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐
มาตรา ๒๓ พนักงานเจาหนาที่ผูใดกระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นลวงรูขอมูลคอมพิวเตอร
ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร หรือขอมูลของผูใชบริการ ที่ไดมาตามมาตรา ๑๘ ตองระวางโทษจําคุก
ไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๒๔ ผูใดลวงรูขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรหรือขอมูลของ
ผูใชบริการ ที่พนักงานเจาหนาที่ไดมาตามมาตรา ๑๘ และเปดเผยขอมูลนั้นตอผูหนึ่งผูใด ตองระวางโทษ
จําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๒๕ ขอมูล ขอมูลคอมพิวเตอร หรือขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรที่พนักงานเจาหนาที่
ไดมาตามพระราชบัญญัตินี้ ใหอางและรับฟงเปนพยานหลักฐานตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญาหรือกฎหมายอื่นอันวาดวยการสืบพยานได แตตองเปนชนิดที่มิไดเกิดขึ้นจากการจูงใจ
มีคํามั่นสัญญา ขูเข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิชอบประการอื่น
มาตรา ๒๖ ผูใหบริการตองเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรไวไมนอยกวาเกาสิบวัน
นับแตวันที่ขอมูลนั้นเขาสูระบบคอมพิวเตอร แตในกรณีจําเปนพนักงานเจาหนาที่จะสั่งใหผูใหบริการ
ผูใดเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรไวเกินเกาสิบวันแตไมเกินหนึ่งปเปนกรณีพิเศษเฉพาะราย
และเฉพาะคราวก็ได
ผูใหบริการจะตองเก็บรักษาขอมูลของผูใชบริการเทาที่จําเปนเพื่อใหสามารถระบุตัวผูใชบริการ
นับตั้งแตเริ่มใชบริการและตองเก็บรักษาไวเปนเวลาไมนอยกวาเกาสิบวันนับตั้งแตการใชบริการสิ้นสุดลง
ความในวรรคหนึ่งจะใชกับผูใหบริการประเภทใดอยางไร และเมื่อใด ใหเปนไปตามที่รัฐมนตรี
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ผูใหบริการผูใดไมปฏิบัติตามมาตรานี้ ตองระวางโทษปรับไมเกินหาแสนบาท
มาตรา ๒๗ ผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งของศาลหรือพนักงานเจาหนาที่ที่สั่งตามมาตรา ๑๘
หรือมาตรา ๒๐ หรือไมปฏิบัติตามคําสั่งของศาลตามมาตรา ๒๑ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองแสนบาท
และปรับเปนรายวันอีกไมเกินวันละหาพันบาทจนกวาจะปฏิบัติใหถูกตอง
มาตรา ๒๘ การแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูมีความรู
และความชํานาญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอรและมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรีกําหนด
มาตรา ๒๙ ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานเจาหนาที่เปนพนักงาน
ฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีอํานาจรับคํารองทุกข
หรือรับคํากลาวโทษ และมีอํานาจในการสืบสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัตินี้
หนา ๑๒
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐
ในการจับ ควบคุม คน การทําสํานวนสอบสวนและดําเนินคดีผูกระทําความผิดตาม
พระราชบัญญัตินี้ บรรดาที่เปนอํานาจของพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญ หรือพนักงาน
สอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ใหพนักงานเจาหนาที่ประสานงานกับพนักงาน
สอบสวนผูรับผิดชอบเพื่อดําเนินการตามอํานาจหนาที่ตอไป
ใหนายกรัฐมนตรีในฐานะผูกํากับดูแลสํานักงานตํารวจแหงชาติและรัฐมนตรีมีอํานาจรวมกัน
กําหนดระเบียบเกี่ยวกับแนวทางและวิธีปฏิบัติในการดําเนินการตามวรรคสอง
มาตรา ๓๐ ในการปฏิบัติหนาที่ พนักงานเจาหนาที่ตองแสดงบัตรประจําตัวตอบุคคล
ซึ่งเกี่ยวของ
บัตรประจําตัวของพนักงานเจาหนาที่ใหเปนไปตามแบบที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก สุรยุทธ จุลานนท
นายกรัฐมนตรี
หนา ๑๓
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากในปจจุบันระบบคอมพิวเตอรไดเปน
สวนสําคัญของการประกอบกิจการและการดํารงชีวิตของมนุษย หากมีผูกระทําดวยประการใด ๆ ใหระบบ
คอมพิวเตอรไมสามารถทํางานตามคําสั่งที่กําหนดไวหรือทําใหการทํางานผิดพลาดไปจากคําสั่งที่กําหนดไว หรือ
ใชวิธีการใด ๆ เขาลวงรูขอมูล แกไข หรือทําลายขอมูลของบุคคลอื่นในระบบคอมพิวเตอรโดยมิชอบ หรือ
ใชระบบคอมพิวเตอรเพื่อเผยแพรขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จหรือมีลักษณะอันลามกอนาจาร ยอมกอใหเกิด
ความเสียหาย กระทบกระเทือนตอเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของรัฐ รวมทั้งความสงบสุขและศีลธรรม
อันดีของประชาชน สมควรกําหนดมาตรการเพื่อปองกันและปราบปรามการกระทําดังกลาว จึงจําเปน
ตองตราพระราชบัญญัตินี้

More Related Content

กฎหมายการกระทำความผิึϹกี่ยวกับคอมพิว๶ตอร์

  • 1. หนา ๔ เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ พระราชบัญญัติ วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐ เปนปที่ ๖๒ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดสามสิบวันนับแตวันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร” หมายความวา อุปกรณหรือชุดอุปกรณของคอมพิวเตอรที่เชื่อมการทํางาน เขาดวยกัน โดยไดมีการกําหนดคําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานใหอุปกรณ หรือชุดอุปกรณทําหนาที่ประมวลผลขอมูลโดยอัตโนมัติ
  • 2. หนา ๕ เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ “ขอมูลคอมพิวเตอร” หมายความวา ขอมูล ขอความ คําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดา ที่อยูในระบบคอมพิวเตอรในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอรอาจประมวลผลได และใหหมายความรวมถึง ขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามกฎหมายวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสดวย “ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร” หมายความวา ขอมูลเกี่ยวกับการติดตอสื่อสารของระบบ คอมพิวเตอร ซึ่งแสดงถึงแหลงกําเนิด ตนทาง ปลายทาง เสนทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลา ชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการติดตอสื่อสารของระบบคอมพิวเตอรนั้น “ผูใหบริการ” หมายความวา (๑) ผูใหบริการแกบุคคลอื่นในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึงกันโดย ประการอื่น โดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ทั้งนี้ ไมวาจะเปนการใหบริการในนามของตนเอง หรือ ในนามหรือเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น (๒) ผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น “ผูใชบริการ” หมายความวา ผูใชบริการของผูใหบริการไมวาตองเสียคาใชบริการหรือไมก็ตาม “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๔ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร มาตรา ๕ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกันการเขาถึง โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน หนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๖ ผูใดลวงรูมาตรการปองกันการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรที่ผูอื่นจัดทําขึ้นเปนการเฉพาะ ถานํามาตรการดังกลาวไปเปดเผยโดยมิชอบในประการที่นาจะเกิดความเสียหายแกผูอื่น ตองระวางโทษจําคุก ไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
  • 3. หนา ๖ เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ มาตรา ๗ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกันการเขาถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองปหรือปรับไมเกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๘ ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสเพื่อดักรับไว ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นที่อยูระหวางการสงในระบบคอมพิวเตอร และขอมูลคอมพิวเตอรนั้น มิไดมีไวเพื่อประโยชนสาธารณะหรือเพื่อใหบุคคลทั่วไปใชประโยชนไดตองระวางโทษจําคุกไมเกิน สามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๙ ผูใดทําใหเสียหาย ทําลาย แกไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไมวาทั้งหมดหรือ บางสวน ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นโดยมิชอบ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกิน หนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๑๐ ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบ เพื่อใหการทํางานของระบบคอมพิวเตอร ของผูอื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไมสามารถทํางานตามปกติไดตองระวางโทษจําคุก ไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๑๑ ผูใดสงขอมูลคอมพิวเตอรหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกสแกบุคคลอื่นโดยปกปด หรือปลอมแปลงแหลงที่มาของการสงขอมูลดังกลาว อันเปนการรบกวนการใชระบบคอมพิวเตอรของ บุคคลอื่นโดยปกติสุข ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท มาตรา ๑๒ ถาการกระทําความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ (๑) กอใหเกิดความเสียหายแกประชาชน ไมวาความเสียหายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรือ ในภายหลังและไมวาจะเกิดขึ้นพรอมกันหรือไม ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบป และปรับไมเกิน สองแสนบาท (๒) เปนการกระทําโดยประการที่นาจะเกิดความเสียหายตอขอมูลคอมพิวเตอร หรือระบบ คอมพิวเตอรที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคง ในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือการบริการสาธารณะ หรือเปนการกระทําตอขอมูลคอมพิวเตอรหรือ ระบบคอมพิวเตอรที่มีไวเพื่อประโยชนสาธารณะ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามปถึงสิบหาป และ ปรับตั้งแตหกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท ถาการกระทําความผิดตาม (๒) เปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย ตองระวางโทษจําคุกตั้งแต สิบปถึงยี่สิบป
  • 4. หนา ๗ เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ มาตรา ๑๓ ผูใดจําหนายหรือเผยแพรชุดคําสั่งที่จัดทําขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนําไปใชเปนเครื่องมือ ในการกระทําความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือ มาตรา ๑๑ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๑๔ ผูใดกระทําความผิดที่ระบุไวดังตอไปนี้ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือ ปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (๑) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรปลอมไมวาทั้งหมดหรือบางสวน หรือ ขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่นาจะเกิดความเสียหายแกผูอื่นหรือประชาชน (๒) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่นาจะเกิด ความเสียหายตอความมั่นคงของประเทศหรือกอใหเกิดความตื่นตระหนกแกประชาชน (๓) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ อันเปนความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง แหงราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการกอการรายตามประมวลกฎหมายอาญา (๔) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามกและ ขอมูลคอมพิวเตอรนั้นประชาชนทั่วไปอาจเขาถึงได (๕) เผยแพรหรือสงตอซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรโดยรูอยูแลววาเปนขอมูลคอมพิวเตอรตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) มาตรา ๑๕ ผูใหบริการผูใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมใหมีการกระทําความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบคอมพิวเตอรที่อยูในความควบคุมของตน ตองระวางโทษเชนเดียวกับผูกระทําความผิดตาม มาตรา ๑๔ มาตรา ๑๖ ผูใดนําเขาสูระบบคอมพิวเตอรที่ประชาชนทั่วไปอาจเขาถึงไดซึ่งขอมูล คอมพิวเตอรที่ปรากฏเปนภาพของผูอื่น และภาพนั้นเปนภาพที่เกิดจากการสรางขึ้น ตัดตอ เติม หรือดัดแปลงดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่นาจะทําใหผูอื่นนั้น เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือไดรับความอับอาย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือ ปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ถาการกระทําตามวรรคหนึ่ง เปนการนําเขาขอมูลคอมพิวเตอรโดยสุจริต ผูกระทําไมมีความผิด ความผิดตามวรรคหนึ่งเปนความผิดอันยอมความได ถาผูเสียหายในความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสียกอนรองทุกข ใหบิดา มารดา คูสมรส หรือ บุตรของผูเสียหายรองทุกขได และใหถือวาเปนผูเสียหาย มาตรา ๑๗ ผูใดกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้นอกราชอาณาจักรและ
  • 5. หนา ๘ เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ (๑) ผูกระทําความผิดนั้นเปนคนไทย และรัฐบาลแหงประเทศที่ความผิดไดเกิดขึ้นหรือ ผูเสียหายไดรองขอใหลงโทษ หรือ (๒) ผูกระทําความผิดนั้นเปนคนตางดาว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเปนผูเสียหายและ ผูเสียหายไดรองขอใหลงโทษ จะตองรับโทษภายในราชอาณาจักร หมวด ๒ พนักงานเจาหนาที่ มาตรา ๑๘ ภายใตบังคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชนในการสืบสวนและสอบสวนในกรณีที่มี เหตุอันควรเชื่อไดวามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจอยางหนึ่ง อยางใด ดังตอไปนี้ เฉพาะที่จําเปนเพื่อประโยชนในการใชเปนหลักฐานเกี่ยวกับการกระทําความผิด และหาตัวผูกระทําความผิด (๑) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติ นี้มาเพื่อใหถอยคํา สงคําชี้แจงเปนหนังสือ หรือสงเอกสาร ขอมูล หรือหลักฐานอื่นใดที่อยูในรูปแบบ ที่สามารถเขาใจได (๒) เรียกขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรจากผูใหบริการเกี่ยวกับการติดตอสื่อสารผานระบบ คอมพิวเตอรหรือจากบุคคลอื่นที่เกี่ยวของ (๓) สั่งใหผูใหบริการสงมอบขอมูลเกี่ยวกับผูใชบริการที่ตองเก็บตามมาตรา ๒๖ หรือที่อยู ในความครอบครองหรือควบคุมของผูใหบริการใหแกพนักงานเจาหนาที่ (๔) ทําสําเนาขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร จากระบบคอมพิวเตอร ที่มีเหตุอันควรเชื่อไดวามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่ระบบคอมพิวเตอรนั้นยัง มิไดอยูในความครอบครองของพนักงานเจาหนาที่ (๕) สั่งใหบุคคลซึ่งครอบครองหรือควบคุมขอมูลคอมพิวเตอร หรืออุปกรณที่ใชเก็บ ขอมูลคอมพิวเตอร สงมอบขอมูลคอมพิวเตอร หรืออุปกรณดังกลาวใหแกพนักงานเจาหนาที่ (๖) ตรวจสอบหรือเขาถึงระบบคอมพิวเตอร ขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร หรืออุปกรณที่ใชเก็บขอมูลคอมพิวเตอรของบุคคลใด อันเปนหลักฐานหรืออาจใชเปนหลักฐานเกี่ยวกับ การกระทําความผิด หรือเพื่อสืบสวนหาตัวผูกระทําความผิดและสั่งใหบุคคลนั้นสงขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ที่เกี่ยวของเทาที่จําเปนใหดวยก็ได
  • 6. หนา ๙ เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ (๗) ถอดรหัสลับของขอมูลคอมพิวเตอรของบุคคลใด หรือสั่งใหบุคคลที่เกี่ยวของกับการ เขารหัสลับของขอมูลคอมพิวเตอร ทําการถอดรหัสลับ หรือใหความรวมมือกับพนักงานเจาหนาที่ใน การถอดรหัสลับดังกลาว (๘) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอรเทาที่จําเปนเฉพาะเพื่อประโยชนในการทราบรายละเอียด แหงความผิดและผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๙ การใชอํานาจของพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ใหพนักงานเจาหนาที่ยื่นคํารองตอศาลที่มีเขตอํานาจเพื่อมีคําสั่งอนุญาตใหพนักงานเจาหนาที่ ดําเนินการตามคํารอง ทั้งนี้ คํารองตองระบุเหตุอันควรเชื่อไดวาบุคคลใดกระทําหรือกําลังจะกระทําการ อยางหนึ่งอยางใดอันเปนความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เหตุที่ตองใชอํานาจ ลักษณะของการกระทํา ความผิด รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณที่ใชในการกระทําความผิดและผูกระทําความผิด เทาที่สามารถ จะระบุได ประกอบคํารองดวยในการพิจารณาคํารองใหศาลพิจารณาคํารองดังกลาวโดยเร็ว เมื่อศาลมีคําสั่งอนุญาตแลว กอนดําเนินการตามคําสั่งของศาล ใหพนักงานเจาหนาที่สงสําเนา บันทึกเหตุอันควรเชื่อที่ทําใหตองใชอํานาจตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบให เจาของหรือผูครอบครองระบบคอมพิวเตอรนั้นไวเปนหลักฐาน แตถาไมมีเจาของหรือผูครอบครอง เครื่องคอมพิวเตอรอยู ณ ที่นั้น ใหพนักงานเจาหนาที่สงมอบสําเนาบันทึกนั้นใหแกเจาของหรือ ผูครอบครองดังกลาวในทันทีที่กระทําได ใหพนักงานเจาหนาที่ผูเปนหัวหนาในการดําเนินการตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) สงสําเนาบันทึกรายละเอียดการดําเนินการและเหตุผลแหงการดําเนินการใหศาลที่มีเขตอํานาจ ภายในสี่สิบแปดชั่วโมงนับแตเวลาลงมือดําเนินการ เพื่อเปนหลักฐาน การทําสําเนาขอมูลคอมพิวเตอรตามมาตรา ๑๘ (๔) ใหกระทําไดเฉพาะเมื่อมีเหตุอันควรเชื่อ ไดวามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ และตองไมเปนอุปสรรคในการดําเนินกิจการของ เจาของหรือผูครอบครองขอมูลคอมพิวเตอรนั้นเกินความจําเปน การยึดหรืออายัดตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะตองสงมอบสําเนาหนังสือแสดงการยึดหรือ อายัดมอบใหเจาของหรือผูครอบครองระบบคอมพิวเตอรนั้นไวเปนหลักฐานแลวพนักงานเจาหนาที่จะ สั่งยึดหรืออายัดไวเกินสามสิบวันมิได ในกรณีจําเปนที่ตองยึดหรืออายัดไวนานกวานั้น ใหยื่นคํารอง ตอศาลที่มีเขตอํานาจเพื่อขอขยายเวลายึดหรืออายัดได แตศาลจะอนุญาตใหขยายเวลาครั้งเดียวหรือ หลายครั้งรวมกันไดอีกไมเกินหกสิบวัน เมื่อหมดความจําเปนที่จะยึดหรืออายัดหรือครบกําหนดเวลา ดังกลาวแลว พนักงานเจาหนาที่ตองสงคืนระบบคอมพิวเตอรที่ยึดหรือถอนการอายัดโดยพลัน
  • 7. หนา ๑๐ เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ หนังสือแสดงการยึดหรืออายัดตามวรรคหาใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๐ ในกรณีที่การกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เปนการทําใหแพรหลาย ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรที่อาจกระทบกระเทือนตอความมั่นคงแหงราชอาณาจักรตามที่กําหนดไวในภาคสอง ลักษณะ ๑ หรือลักษณะ ๑/๑ แหงประมวลกฎหมายอาญา หรือที่มีลักษณะขัดตอความสงบเรียบรอย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน พนักงานเจาหนาที่โดยไดรับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจยื่นคํารอง พรอมแสดงพยานหลักฐานตอศาลที่มีเขตอํานาจขอใหมีคําสั่งระงับการทําใหแพรหลายซึ่งขอมูล คอมพิวเตอรนั้นได ในกรณีที่ศาลมีคําสั่งใหระงับการทําใหแพรหลายซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรตามวรรคหนึ่ง ให พนักงานเจาหนาที่ทําการระงับการทําใหแพรหลายนั้นเอง หรือสั่งใหผูใหบริการระงับการทําให แพรหลายซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรนั้นก็ได มาตรา ๒๑ ในกรณีที่พนักงานเจาหนาที่พบวา ขอมูลคอมพิวเตอรใดมีชุดคําสั่งไมพึง ประสงครวมอยูดวย พนักงานเจาหนาที่อาจยื่นคํารองตอศาลที่มีเขตอํานาจเพื่อขอใหมีคําสั่งหาม จําหนายหรือเผยแพร หรือสั่งใหเจาของหรือผูครอบครองขอมูลคอมพิวเตอรนั้นระงับการใช ทําลาย หรือแกไขขอมูลคอมพิวเตอรนั้นได หรือจะกําหนดเงื่อนไขในการใช มีไวในครอบครอง หรือ เผยแพรชุดคําสั่งไมพึงประสงคดังกลาวก็ได ชุดคําสั่งไมพึงประสงคตามวรรคหนึ่งหมายถึงชุดคําสั่งที่มีผลทําใหขอมูลคอมพิวเตอร หรือ ระบบคอมพิวเตอรหรือชุดคําสั่งอื่นเกิดความเสียหาย ถูกทําลาย ถูกแกไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติม ขัดของ หรือปฏิบัติงานไมตรงตามคําสั่งที่กําหนดไว หรือโดยประการอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้ เวนแตเปนชุดคําสั่งที่มุงหมายในการปองกันหรือแกไขชุดคําสั่งดังกลาวขางตน ตามที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๒๒ หามมิใหพนักงานเจาหนาที่เปดเผยหรือสงมอบขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูล จราจรทางคอมพิวเตอร หรือขอมูลของผูใชบริการ ที่ไดมาตามมาตรา ๑๘ ใหแกบุคคลใด ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับกับการกระทําเพื่อประโยชนในการดําเนินคดีกับผูกระทําความผิด ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือเพื่อประโยชนในการดําเนินคดีกับพนักงานเจาหนาที่เกี่ยวกับการใชอํานาจหนาที่ โดยมิชอบ หรือเปนการกระทําตามคําสั่งหรือที่ไดรับอนุญาตจากศาล พนักงานเจาหนาที่ผูใดฝาฝนวรรคหนึ่งตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกิน หกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
  • 8. หนา ๑๑ เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ มาตรา ๒๓ พนักงานเจาหนาที่ผูใดกระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นลวงรูขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร หรือขอมูลของผูใชบริการ ที่ไดมาตามมาตรา ๑๘ ตองระวางโทษจําคุก ไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๒๔ ผูใดลวงรูขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรหรือขอมูลของ ผูใชบริการ ที่พนักงานเจาหนาที่ไดมาตามมาตรา ๑๘ และเปดเผยขอมูลนั้นตอผูหนึ่งผูใด ตองระวางโทษ จําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๒๕ ขอมูล ขอมูลคอมพิวเตอร หรือขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรที่พนักงานเจาหนาที่ ไดมาตามพระราชบัญญัตินี้ ใหอางและรับฟงเปนพยานหลักฐานตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญาหรือกฎหมายอื่นอันวาดวยการสืบพยานได แตตองเปนชนิดที่มิไดเกิดขึ้นจากการจูงใจ มีคํามั่นสัญญา ขูเข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิชอบประการอื่น มาตรา ๒๖ ผูใหบริการตองเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรไวไมนอยกวาเกาสิบวัน นับแตวันที่ขอมูลนั้นเขาสูระบบคอมพิวเตอร แตในกรณีจําเปนพนักงานเจาหนาที่จะสั่งใหผูใหบริการ ผูใดเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรไวเกินเกาสิบวันแตไมเกินหนึ่งปเปนกรณีพิเศษเฉพาะราย และเฉพาะคราวก็ได ผูใหบริการจะตองเก็บรักษาขอมูลของผูใชบริการเทาที่จําเปนเพื่อใหสามารถระบุตัวผูใชบริการ นับตั้งแตเริ่มใชบริการและตองเก็บรักษาไวเปนเวลาไมนอยกวาเกาสิบวันนับตั้งแตการใชบริการสิ้นสุดลง ความในวรรคหนึ่งจะใชกับผูใหบริการประเภทใดอยางไร และเมื่อใด ใหเปนไปตามที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ผูใหบริการผูใดไมปฏิบัติตามมาตรานี้ ตองระวางโทษปรับไมเกินหาแสนบาท มาตรา ๒๗ ผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งของศาลหรือพนักงานเจาหนาที่ที่สั่งตามมาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๒๐ หรือไมปฏิบัติตามคําสั่งของศาลตามมาตรา ๒๑ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองแสนบาท และปรับเปนรายวันอีกไมเกินวันละหาพันบาทจนกวาจะปฏิบัติใหถูกตอง มาตรา ๒๘ การแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูมีความรู และความชํานาญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอรและมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรีกําหนด มาตรา ๒๙ ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานเจาหนาที่เปนพนักงาน ฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีอํานาจรับคํารองทุกข หรือรับคํากลาวโทษ และมีอํานาจในการสืบสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัตินี้
  • 9. หนา ๑๒ เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ ในการจับ ควบคุม คน การทําสํานวนสอบสวนและดําเนินคดีผูกระทําความผิดตาม พระราชบัญญัตินี้ บรรดาที่เปนอํานาจของพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญ หรือพนักงาน สอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ใหพนักงานเจาหนาที่ประสานงานกับพนักงาน สอบสวนผูรับผิดชอบเพื่อดําเนินการตามอํานาจหนาที่ตอไป ใหนายกรัฐมนตรีในฐานะผูกํากับดูแลสํานักงานตํารวจแหงชาติและรัฐมนตรีมีอํานาจรวมกัน กําหนดระเบียบเกี่ยวกับแนวทางและวิธีปฏิบัติในการดําเนินการตามวรรคสอง มาตรา ๓๐ ในการปฏิบัติหนาที่ พนักงานเจาหนาที่ตองแสดงบัตรประจําตัวตอบุคคล ซึ่งเกี่ยวของ บัตรประจําตัวของพนักงานเจาหนาที่ใหเปนไปตามแบบที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ผูรับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ จุลานนท นายกรัฐมนตรี
  • 10. หนา ๑๓ เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๗ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากในปจจุบันระบบคอมพิวเตอรไดเปน สวนสําคัญของการประกอบกิจการและการดํารงชีวิตของมนุษย หากมีผูกระทําดวยประการใด ๆ ใหระบบ คอมพิวเตอรไมสามารถทํางานตามคําสั่งที่กําหนดไวหรือทําใหการทํางานผิดพลาดไปจากคําสั่งที่กําหนดไว หรือ ใชวิธีการใด ๆ เขาลวงรูขอมูล แกไข หรือทําลายขอมูลของบุคคลอื่นในระบบคอมพิวเตอรโดยมิชอบ หรือ ใชระบบคอมพิวเตอรเพื่อเผยแพรขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จหรือมีลักษณะอันลามกอนาจาร ยอมกอใหเกิด ความเสียหาย กระทบกระเทือนตอเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของรัฐ รวมทั้งความสงบสุขและศีลธรรม อันดีของประชาชน สมควรกําหนดมาตรการเพื่อปองกันและปราบปรามการกระทําดังกลาว จึงจําเปน ตองตราพระราชบัญญัตินี้