ݺߣ
Submit Search
ความรู้พื้Ȩานของระบบการสื่อสารྺ้อมูล
•
Download as PPT, PDF
•
0 likes
•
286 views
tumetr1
Follow
วิชา Network
Read less
Read more
1 of 39
Download now
Download to read offline
More Related Content
ความรู้พื้Ȩานของระบบการสื่อสารྺ้อมูล
1.
การสื่อสารข้อมูลและเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์ อ.รังสรรค์ สุวรรณหงส์
2.
1.1 การพัฒนาของระบบการสื่อสาร ข้อมูล • 2493
การประมวลผลจะเป็นแบบ Batch • 2503 พัฒนาเป็นแบบ Online Batch โดยใช้ โทรศัพท์เชื่อมต่อเข้ามาประมวลผลที่ส่วนกลาง • 2513 Real Time • หลังจากนั้นได้เริ่มการมีการพัฒนาฐานข้อมูล แบบรวม และมีการสนับสนุนการสำารองข้อมูล • 2518 ฐานข้อมูลกระจาย • 2533 การประมวลผลแบบกระจาย ซึ่งจะต้องมี การใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในการ ทำางาน ความรู้พื้Ȩานของระบบการสื่อสารྺ้อมูล
3.
1.2 ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูล • การสื่อสารข้อมูลเพื่อการบริหารและการจัดการ •
การสื่อสารเพื่อการบริการ • การสื่อสารข้อมูลในด้านธุรกิจการเงิน • การสื่อสารข้อมูลเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
4.
1.3 ระบบการสื่อสาร ผู้ส่ง ผู้รับตัวกลาง ข้อ มูล Noi se
5.
1.4 นิยามการส่งข้อมูล • การส่งแบบทางเดียวหรือ
Simplex • การส่งแบบ Half Duplex – สูญเสีย System turnaround time ( reaction time + line turnaround time ) • การส่งแบบ Full Duplex – สูญเสีย System turnaround time น้อยกว่า Half (reaction time only)
6.
1.5 ระบบการสื่อสารข้อมูลและเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์ computer VDT printer termi nal
7.
1.5 ระบบการสื่อสารข้อมูลและเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์ • จุดประสงค์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ –
เพื่อใช้ทรัพยากรเช่น ฐานข้อมูล ตัวประมวลผล และ อุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน – เพื่อติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างกัน – reliability – Distributed Processing – ควบคุมทรัพยากรหรือจัดสรรทรัพยากรส่วนกลาง – ช่วยให้อุปกรณ์ที่แตกต่างกันทำางานร่วมกันได้
8.
1.5 ระบบการสื่อสารข้อมูลและเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์ 1.5.1 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
(ดูรูปที่ 1.15 p33) - เครือข่ายย่อยส่วนของผู้ใช้ (ดูรูปที่ 1.16 p35) - เครือข่ายย่อยส่วนของการสื่อสาร (ดูรูปที่ 1.17 p 37) 1) จุดต่อจุด มักเรียกว่า switched network - โหนดที่จะสื่อสารกันจะมีการเชื่อมโยงกัน ระหว่างโหนด 2) แพร่กระจายข้อมูล มีการส่งข้อมูลแบบ broadcast ไปยังทุกโหนด โดยแต่ละโหนดใช้ address เป็นตัวบ่ง - มีการจัดสรรช่องสัญญาณ 2 แบบคือ static allocation และ dynamic allocation
12.
• Static allocation
มีการจัดสรรเวลาให้แต่ละ โหนดเพื่อใช้ในการสื่อสารในเวลาที่เท่ากัน • dynamic allocation จะแบ่งได้อีก 2 แบบ – รวมศูนย์ เหมือนมีประธานคอยทำาหน้าที่เป็นผู้ จัดการส่ง – แยกศูนย์ แต่ละโหนดมีการตัดสินใจเองในการ ส่งโดยดูจากช่องการสื่อสาร CSMA/CD
13.
สื่ออุปกรณ์แม่เหล็ก(Magnetic Media) การบันทึกข้อมูลลงสื่อแม่เหล็กแล้วขนส่งไปยัง ปลายทาง แล้วไปอ่านกลับมาใหม่
(อาจเป็นวิธี หนึ่งที่ประหยัดค่าใช้จ่าย) สื่อส่งข้อมูล (Transmission Links)
14.
สายคู่ตีเกลียว • สายจะพันเป็นเกลียวเพื่อลดสัญญาณรบกวน • ส่งได้ทั้งอนาล็อกและดิจิตอล •
ปัจจุบันนี้สายประเภทนี้ที่นิยมใช้คือ (Unshielded Twisted Pair) ที่นิยมมี 2 ชนิดคือ cat3 และ cat5 cat3 ส่งได้สูงสุด 10 Mbps cat5 ส่งได้สูงสุด 100 Mbps
16.
สายโคแอกเชียล • มี 2
ชนิด 50 โอห์มสำาหรับส่งข้อมูลดิจิตอล และ 75 โอห์มสำาหรับ อนาล็อก
17.
เส้นใยแก้วนำาแสง • ใช้การส่งสัญญาณแสงที่มีความถี่แตกต่างกัน เข้าไปในแท่งแก้วซิริก้า • ตัวส่งสัญญาณแสงได้แก่
LED(Light Emitting Diode) หรือ Laser Diode • ตัวรับได้แก่ Photo Diode • รูป 2-4 ,รูปที่ 2-5และ รูปที่ 2-6
21.
เส้นใยแก้วนำำแสง • คุณสมบัติเส้นใยแก้วนำำแสง – แบนด์วิธกว้ำง
สำมำรถส่งพร้อมกันได้หลำยช่อง สัญญำณ – ไม่ถูกรบกวนจำกคลื่นแม่เหล็ก – ไม่เกี่ยงอุณหภูมิ – นำ้ำหนักเบำ สิ้นเปลืืองเนื้อที่น้อย – ไม่เปลืือง repeater – ควำมปลอดภัยของข้อมูลมีสูง
22.
ระบบไมโครเวฟ • รูปที่ 2-9 •
ปกติจะส่งได้ไกลประมำณ 20-30 ไมล์
23.
แสงอินฟำเรด • นิยมใช้ระบบแลนไร้สำยภำยในห้อง • ไม่สำมำรถที่จะทะลุผ่ำนผนัง •
รำคำไม่แพง
24.
ระบบสื่อสำรวิทยุ • รูปที่ 2-10 •
รูปที่ 2-11 • รูป 2-13 • เสียค่ำใช้จ่ำยน้อย ไม่ต้องใช้สำย • เกิดสัญญำณรบกวนได้ง่ำย จำกกำรสปำร์ก ฟ้ำผ่ำ
28.
วิทยุเซลลูลำร์ • รูปที่ 2-14
(ก,ข) • AMPS (Advanced mobile phone system) 2-14 (ค,ง) – สถำนีฐำน MTSO (Mobile Telephone Switching Office) – 824-849 MHz bandwidth 30 KHz – 832 ช่องสัญญำณ (A side , B side) • ระบบโทรศัพท์ดิจิตอล – เช่น GSM (Global System for Mobile communications) , 1800 MHz • PCS (Personal Communications
30.
ระบบสื่อสำรดำวเทียม • คล้ำยไมโครเวฟขนำดใหญ่ที่ทำำงำนบน อำกำศ • รูปที่
2.15 • C-band 3.7-4.2 up และ 5.925-6.425 down • Ku-band 11.7-12.2 up และ 14.0-14.5 down • Ka-band 17.7-21.7 up และ
33.
ระบบสื่อสารดาวเทียม • คุณสมบัติทั่วไปของระบบดาวเทียม – ส่งได้ไกล –
แต่มี propagation delay – ควรมีการเข้ารหัสเพื่อความปลอดภัยของข้อมูล
34.
ปัญหาการชนของข้อมูลในช่อง สัญญาณดาวเทียม • FDMA (Frequency
Division Multiple Access) รูปที่ 2.18 • ALOHA หาความสัมพันธ์เพื่อหาอัตราการส่ง ข้อมูลจาก Traffic rate และ message rate รูปที่ 2.19 • TDMA (Time Division Multiple Access) ผลัดกันใช้งานตามเวลา
37.
การส่งข้อมูลผ่านระบบ โทรศัพท์ • รูปที่ 2.24 •
แบ่งเป็น 2 ประเภท – หมุนเรียก รูปที่ 2.25 – Leased line รูป ที่ 2.26
38.
• เครือข่ายโทรศัพท์เป็น Half หรือ
Full Duplex ?
39.
การใช้เส้นใยนำาแสงในโล คอลลูป ป็นการประยุกต์ใช้สายไฟเบอร์ในเครือข่ายย่อย FTTC
Download