ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ระึϸบชั้Ȩาต้าลิงค์
การให้บริการแก่ระดับชั้น
เน็ตเวิร์ก
การบริการแบบ Connectionless ที่ไม่
ต้องการความเชื่อถือ
การบริการแบบ Connectionless ที่
ต้องการความเชื่อถือ
การบริการแบบ Connection Oriented ที่
ต้องการความเชื่อถือ
Connectionless ที่ไม่ต้องการ
ความเชื่อถือ
ไม่มีการติดต่อก่อนและหลัง
ไม่มีการตอบรับข้อมูลในกรณีมีการเสียหาย
มอบภาระให้แก่ระดับชั้นที่สูงกว่าเป็นผู้
จัดการ
ใช้ในกรณีที่ต้องการความเร็วสูงเช่น เสียง
Connectionless ที่ต้องการ
ความเชื่อถือ
ไม่มีการติดต่อก่อนและหลัง
แต่ต้องการความน่าเชื่อถือของข้อมูล
เหมาะสำาหรับการส่งสัญญาณข้อมูลที่มีการ
รบกวนสูงเช่น ระบบวิทยุ
Connection Oriented ที่
ต้องการความเชื่อถือ
ต้องการการติดต่อก่อนและหลัง
มีการรับรองการส่งข้อมูลที่เสียหาย
ดูรูปที่ 9.1 ก และ ข
แสดงการบริการของชั้นดาต้าลิงก์ที่บริการ
แก่ชั้นเน็ตเวิร์ก
ส่วนในรูปที่ 9.1 ค แสดงให้เห็นถึงการ
ทำางานของโปรเซส
การสร้างเฟรมข้อมูล
หน้าที่ระดับด้าต้าลิงก์นั้นจะทำาการตรวจสอบ
และแก้ไขความผิดพลาดของการส่งข้อมูล
โดยจะมีการคำานวณเพื่อหา Checksum
แนบท้ายของการส่งข้อมูลไปด้วย
สำาหรับวิธีการที่จะทำาการตวจสอบนั้นอาจ
ทำาได้ 3 แบบดังนี้
– การใช้ตัวอักษรȨบ
– การใช้ตัวอักษรบ่งต้นเฟรมและท้ายเฟรม
และมีการสอดแทรกตัวอักษรเพิ่ม
– การใช้กลุ่มของบิตเป็นเครื่องหมาย บ่งบอก
การใช้ตัวอักษรȨบ
การใช้ตัวอักษรบ่งต้นเฟรมและ
ท้ายเฟรมและมีการสอดแทรก
ตัวอักษรเพิ่ม
ในกรณีการส่งข้อมูลอักขระจะใช้ในรูปที่
9.3
แต่ในกรณีการส่งข้อมูลที่เป็นไบนารีแล้วละก็
จะมีการแทรก DLE (Data link escape)
แทรกก่อนและหลัง STX , ETX และ ก่อน
ข้อมูลที่มีค่าเดียวกับ DLE
ระึϸบชั้Ȩาต้าลิงค์
การใช้กลุ่มของบิตเป็น
เครื่องหมาย บ่งบอกต้นเฟรม
และท้ายเฟรมและมีการสอด
แทรกบิตเพิ่มเหมาะสำาหรับทั้งในการส่งข้อมูลอักระและ
ไบนารี
โดยมีการใช้กลุ่มบิต(แฟล็ก) ใช้
01111110 เป็นตัวบอกชุดข้อมูล และใน
กรณีที่ข้อมูลมีค่าเดียวกับแฟล็กก็จะมีการ
แทรกบิตเพิ่มเติมเข้าไปแสดงดังรูป
การควบคุมข้อผิดพลาดของการ
ส่งข้อมูล
ในการส่งข้อมูลนั้นหากฝ่ายรับได้รับข้อมูล
แล้วจะมีการส่ง positive
acknowledgement แต่หากมีความผิด
พลาดก็จะมีการตอบ negative
acknowledgement
หากมีการส่งแล้วไม่ตอบกลับจะเป็นปัญหาจึง
ต้องมีการกำาหนดเวลา (Timer) ซึ่งหากหมด
เวลาแล้วไม่มีการส่งตอบกลับก็จะทำาการ
ละเลย
การควบคุมการไหลของข้อมูล
การป้องกันการไม่ให้ข้อมูลสื่อสารกันด้วย
อัตราเร็วเกินไป จะทำาโดยการส่งข้อมูลกลับ
ไปให้ฝ่ายส่งได้ทราบว่าฝ่ายรับได้รับข้อมูล
การตรวจสอบและแก้ไขความผิด
พลาดของข้อมูล
ในการส่งสัญญาณไปในสายสัญญาณนั้นจะ
มีการรบกวนเกิดขึ้นเป็นช่วง ๆ (impulse
noise)
รูปที่ 9.6 แสดงให้เห็นถึงว่าหากมีการ
รบกวนชั่วแล่่น 2 มิลลิวินาทีจะเกิดผลความ
ผิดพลาดในต่าง ๆ กัน
การตรวจหาข้อมูลผิดพลาด
การตรวจสอบข้อมูลผิดที่ง่ายที่สุดก็คือไม่ต้อง
ตรวจ
เทคนิคของการสะท้อนข้อมูล
เป็นการส่งข้อมูลแล้วฝ่ายรับทำาการสะท้อน
กลับมาให้ฝ่ายส่งได้ทราบด้วย ในรูปที่ 9.7
จะแสดงวิธีการดังกล่าวในกรณีการส่งข้อมูล
จาก Terminal ไปหามินิคอมพิวเตอร์
การตรวจหาข้อมูลผิดพลาดโดย
อัตโนมัติ
ในการตรวจสอบเพื่อหาข้อผิดพลาดนั้นเรา
จะนำาข้อมูลมาทำาการหา Frame check
sequence แล้วปะไปกับข้อมูลดังรูปที่ 9.8
ระึϸบชั้Ȩาต้าลิงค์
การตรวจสอบที่ง่ายที่สุดก็คือการใช้ พาริตีบิต
ในการตรวจ
– พาริตีบิตคู่ even parity -- ข้อมูลที่ส่งไปพร้อมพา
ริตีบิตด้วย
จะมี เลข 1 เป็นจำานวนคู่
– พาริตีบิตคี่ odd parity -- ข้อมูลที่ส่งไปพร้อมพา
ริตีบิตด้วย
จะมี เลข 1 เป็นจำานวนคี่
การตรวจโดย BCC (Block check
character) แสดงดังรูปที่ 9.9 และหากมีการ
ระึϸบชั้Ȩาต้าลิงค์
ระึϸบชั้Ȩาต้าลิงค์
วิธีการ CRC (Cyclic
Redundancy Code)
ใช้วิธีการนำาข้อมูลมาหารด้วยรหัส
polynomial code (ที่นิยมใช้กันแสดงใน
รูปที่ 9.16) โดยมีวิธีการโดยสรุปดังนี้
– ให้ r เป็นกำาลังของ G(x) เติมบิตค่า 0 จำานวน r
บิต ท้ายข้อมูล M(x) ซึ่งจะทำาให้ข้อมูลมี
ความยาว m+r และเป็นโพลิโนเมียล xr
M(x)
– หาร xr
M(x) ด้วย G(x) โดยใช้การหารแบบ
โมดูโล 2
– ลบเศษที่ได้จากการหาร ออกจาก xr
M(x) และ
ระึϸบชั้Ȩาต้าลิงค์
การแก้ไขข้อผิดพลาด
การแก้ไขข้อมูลที่ผิดพลาดทำาได้ 2 วิธีคือ
– ส่งข้อมูลกลับมาใหม่ error detecting code
– ใส่รหัสเพื่อนำาไปแก้ข้อผิดพลาด error
correcting code
Hamming Code
การควบคุมการส่งข้อมูลในระดับ
ดาต้าลิงค์
ในส่วนนี้จะกล่าวถึงโปรโตคอลที่จะทำาหน้าที่
ในการส่งข้อมูลให้ได้ถูกต้อง
โปรโตคอลแบบ Unresticted
Simplex
โปรโตคอลแบบ Simplex stop-
and-wait
โปรโตคอล stop-and-wait
สำาหรับส่งสัญญาณรบกวน
ระึϸบชั้Ȩาต้าลิงค์
โปรโตคอลแบบ sliding
window
โปรโตคอล Go back n
โปรโตคอล Selective Repeat
อินเตอร์เน็ตโปรโตคอล
ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์์เน็ต
นั้นจะมีการประกอบจากเครือข่ายหลาย ๆ
ชนิดหลายประเภทเช่น ดาวเทียม ใยแก้ว
สายทองแดง วิทยุ ดังนั้นจึงต้องมีโปรโตคอล
ที่จะสามารถทำาให้การเชื่อมโยงเครือข่ายที่
แตกต่างกันสามารถทำางานรวมกันได้โดยมี
ประสิทธิภาพ
แพ็กเกตของไอพี
ในรูปที่ 10.10 แสดงรูปแบบของดาต้าแกรม
ระึϸบชั้Ȩาต้าลิงค์
ในดาต้าแกรมจะมี Header ที่ความยาวคงที่คือ 20
Byte และ option ซึ่งยาวไม่แน่นอน
เวอร์ชันจะแสดงเวอร์ชันของดาต้าแกรม
IHL บอกความยาวของเฮดเดอร์รวมทั้ง option ด้วย
Type of Service แสดงชนิดของการให้บริการเช่น
ความน่าเชื่อถือของการรับส่ง
Total Length บอกความยาวทั้งหมดของดาต้าแกรม
ไอเดนทิฟิเคชัน บอกความเป็นแฟรกเมนดาต้าแกรม
เดียวกัน
DF แสดงให้รู้ว่าดาต้าแกรมไม่ให้กระจายแฟกเมนย่อย
MF จะมีค่าเป็น 1 สำาหรับทุก ๆแฟรกเมนและจะมีค่า 0
ในแฟรกเมนสุดท้าย
แฟรกเมนออฟเซ็ท จะบอกให้รู้ว่าแฟรกเมนนี้
เป็น offset ที่เท่าไรของดาต้าแกรม
Time to live เป็นเวลาให้แก่ดาต้าแกรมว่า
จะถูกทำาลายเมื่อใดซึ่งจะใช้ในกรณีที่ข้อมูล
วนไปมาในเครือข่าย
โปรโตคอลบอกว่าดาต้าแกรมนี้เป็นของ
โปรโตคอลใด
เฮดเดอร์ตรวจสอบ ใช้ตรวจความถูกต้องของ
ข้อมูล
ไอพีแอดเดรส
ไอพีแอดเดรสจะประกอบไปด้วย 4 Byte ซึ่ง
จะบอกถึงเครือข่ายและโฮสต์
การเขียนจะใช้จุดแทนแต่ละตำาแหน่งซึ่งจะมี
ค่าได้จาก 0 - 255 เช่น 203.158.127.6
ไอพีการแบ่งออกเป็นคลาส A B C D และ E
คลาส A
จะมี bitแรกเเป็น 0 และ 7 bitเป็นหมายเลข
เครือข่ายและ 24 bitถัดมาเป็นหมายเลข
โฮสต์
มีเครือข่ายทั้งหมด 126 เครือ
ข่าย(สงวน127) จำานวนโฮสต์แต่ละเครือ
ข่ายได้ 16 ล้านโหนด
คลาส B
จะมี 2 bitแรกเเป็น 10 และ 14 bitเป็น
หมายเลขเครือข่ายและ 16 bitถัดมาเป็น
หมายเลขโฮสต์
มีจำานวนเครือข่ายทั้งหมด 16,382 เครือ
ข่าย จำานวนโฮสต์แต่ละเครือข่ายได้ 64K
โหนด
คลาส C
จะมี 3 bitแรกเเป็น 110 และ 21 bitเป็น
หมายเลขเครือข่ายและ 8 bitถัดมาเป็น
หมายเลขโฮสต์
มีจำานวนเครือข่ายทั้งหมด 2 ล้านเครือข่าย
จำานวนโฮสต์แต่ละเครือข่ายได้ 254 โหนด
คลาส D และ E
คลาส D เป็นมัลติคลาส
ส่วนคลาส E สงวนไว้ใช้ในอนาคต

More Related Content

ระึϸบชั้Ȩาต้าลิงค์