ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การนำา๶สนอโครงงาน
• การนำาเสนองาน
• วัตถุประสงค์ในการนำาเสนอ
• ผู้ฟัง
• ผู้นำาเสนองาน
• ข้อมูลที่ใช้ในการนำาเสนอ
• กระบวรการในการนำาเสนอ
• หลักการนำาเสนอที่ดี
• การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำาเสนองาน
การนำาเสนองานการนำาเสนองาน
ความหมายของการนำาเสนอข้อมูล
การ นำาเสนอข้อมูล หมายถึง การสื่อสารเพื่อเสนอ
ข้อมูล ความรู้ ความคิดเห็น หรือ ความต้องการไปสู่ผู้รับสาร
โดยใช้เทคนิคหรือวิธีการต่างๆ อันจะทำาให้บรรลุผลสำาเร็จตาม
จุดมุ่งหมายของการนำาเสนอ
ประเภทของการนำาเสนอ
1. การ นำาเสนอเฉพาะกลุ่ม เป็นการนำาเสนอข้อมูลต่าง ๆ ต่อผู้
ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมรับทราบข้อมูล
ในการนำาเสนอ
2. การ นำาเสนอทั่วไปในที่สาธารณะ เป็นการนำาเสนอข้อมูล
ต่าง ๆ ที่เปิดโอกาสให้บุคคลทั่วไปเข้าร่วมฟังการนำาเสนอได้ มี
การเปิดโอกาสให้ผู้ฟัง ได้ซักถามเพิ่มเติมหรือแสดงความคิด
เห็นได้อีกด้วย
วัตถุประสงค์ในการนำา
เสนอ
วัตถุประสงค์ในการนำา
เสนอ
ความสำาคัญของการนำาเสนอ
ใน ปัจจุบันนี้การนำาเสนอเข้ามามีบทบาท
สำาคัญในองค์กรทางธุรกิจ ทางการเมือง ทางการศึกษา
หรือแม้แต่หน่วยงานของรัฐทุกแห่ง ก็ต้องอาศัยวิธี
การนำาเสนอเพื่อสื่อสารข้อมูล เสนอความเห็น เสนอขอ
อนุมัติ หรือเสนอข้อสรุปผลการดำาเนินงานต่างๆ ผู้
มีหน้าที่เกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ การแนะนำาเพื่อการ
เยี่ยมชม การฝึกอบรม การประชุม หรือผู้ที่เป็นหัวหน้า
งานทุกระดับจะต้องรู้จักวิธีการนำาเสนอ เพื่อนำาไปใช้
ให้เหมาะสมกับงานต่างๆ และเพื่อผลสำาเร็จของการ
พัฒนางานของตน หรือขององค์กรและหน่วยงานต่างๆ
กล่าวโดยสรุป การนำาเสนอมีความสำาคัญ ต่อการปฏิบัติ
งานทุกประเภท เพราะช่วยในการตัดสินใจในการ
ดำาเนินงาน ใช้ในการพัฒนางาน ตลอดจนเผยแพร่
ผู้ฟังผู้ฟัง
การฟังต้องมีความกระตือรือร้น คือสนใจและเล็งเห็น
ประโยชน์จากการฟังอย่างแท้จริง ไม่ใช่ฟังด้วยจาใจ
หรือ ถูกบังคับ
การฟังต้องไม่มีอคติ การมีอคติ ได้แก่ การลาเอียง
อาจจะเป็นลาเอียงเพราะรัก ลาเอียงเพราะ โกรธ ลา
เอียงเพราะหลง การลาเอียงทาให้แปลเจตนาในการ
ฟังผิดความหมาย หรือ คลาดเคลื่อนจากที่เป็นจริงได้
ถ้าผู้เรียนยึดถือ หลักการฟังทั้ง นี้ ก็จะเป็นผู้รับสาร
ด้วยการฟัง ได้ครบถ้วนตามความมุ่งหมาย
1. เพื่อ ให้ผู้รับสารรับทราบความคิดเห็นหรือความต้องการ
เช่น ในการประชุมคณะ กรรมการต่างๆ ประธานในที่ประชุม
จะต้องชี้แจงวาระการประชุมให้ที่ประชุมรับทราบ ที่มักเรียก
กันว่าเรื่องที่ประธานจะแจ้งให้ทราบ
2. เพื่อ ให้ผู้รับสารพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น ในการ
ประชุมคณะกรรมการแต่ละครั้งคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ จะ
ต้องชี้แจงข้อมูลหรือแสดงความคิดเห็นให้ที่ประชุมรับได้ทราบ
เพื่อประกอบการพิจารณาวินิจฉัยหรือลงมติที่ประชุม
3. เพื่อ ให้ผู้รับสารได้รับความรู้จากข้อมูลที่นำาเสนอ เช่น ใน
การฝึกอบรมหรือการสัมมนา วิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญจะต้อง
นำาเสนอข้อมูลที่เป็นข้อความรู้ และข้อเท็จจริงต่างๆ ให้แก่ผู้
เข้าฝึกอบรม หรือใช้ ในการบรรยายสรุปผลการดำาเนินงาน
ต่างๆ เพื่อให้ผู้มาเยี่ยมชมกิจการ หรือผู้บังคับบัญชาที่เดินทาง
มาตรวจเยี่ยมได้รับทราบ
4. เพื่อ ให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง เช่น การชี้แจง
ระเบียบหรือวิธีการปฏิบัติต่าง ๆ ให้แก่ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจ โดย
เฉพาะเมื่อมีการออกระเบียบใหม่หรือเปลี่ยนแนวทางในการ
ข้อมูลที่ใช้ในการนำา
เสนอ
ข้อมูลที่ใช้ในการนำา
เสนอ
ข้อมูลที่นามาใช้ในการนาเสนองาน ไม่ว่าจะเป็ น
เนื้อหา รูปภาพ วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียงต่างๆ
ควรเป็ นหลักฐานที่มีความถูกต้อง ครบถ้วย น่าเชื่อถือ
มีความเป็ นไป ได้ พิสูจน์ได้ และมีความทันสมัย ใน
การจะนาเสนองานนั้น ควรที่จะเตรียมข้อมูลให้
เรียบร้อยก่อนที่ จะนามาเสนอ ในปัจจุบันโปรแกรมที่
ใช้ใน การนาเสนอ มีให้เลือกใช้งานกันหลาย
โปรแกรม
กระบวรการในการนำา
เสนอ
กระบวรการในการนำา
เสนอ   การนำาเสนอข้อมูลด้วยวาจา หรือการรายงานปากเปล่า เป็นการ
 นำารายละเอียดที่ได้จาก การศึกษาค้นคว้า มารายงานหน้าชั้นเรียน
 โดยใช้เวลา 8-10    นาที ผู้รายงานอาจใช้สื่อประกอบการพูด เพื่อ
     เร้าความสนใจของผู้ฟัง เช่น รูปภาพ แผนภูมิ Power Point 
   เป็นต้น ผู้รายงานควรปฏิบัติ ดังนี้
        1.    มีการแนะนำาตัว และเปิดเรื่องบอกให้ผู้ฟังทราบว่าจะพูดเรื่อง
อะไร
        2.    ใช้ภาษาที่ทำาให้ผู้ฟังเข้าใจชัดเจน จังหวะ วรรค
   ตอน การพูด เสียงในการพูดไม่ค่อยเกินไป
        3.      บุคลิกท่าทางในการพูด มีความมั่นใจ การใช้นำ้า
   เสียงนุ่มนวล รักษาเวลาในการพูด
        4.      มีมารยาทในการพูด ใช้ภาษาสุภาพ ไม่แสดงกิริยา
 ที่ไม่เหมาะสม โกรธเคืองหรือดูหมิ่นผู้ฟัง
        5.      รายงานตามลำาดับหัวข้อที่เตรียมมา ไม่พูดวกวน มี
การสรุปเรื่องที่พูดได้ชัดเจนกระชับ
        6.  เปิดโอกาสให้ผู้ฟังซักถาม
หลักการนำาเสนอที่ดีหลักการนำาเสนอที่ดีหลักการนำาเสนอที่ดี
   การนำาเสนอข้อมูลด้วยวาจา หรือการรายงานปากเปล่า เป็นการ
 นำารายละเอียดที่ได้จาก การศึกษาค้นคว้า มารายงานหน้าชั้นเรียน
 โดยใช้เวลา 8-10    นาที ผู้รายงานอาจใช้สื่อประกอบการพูด เพื่อ
     เร้าความสนใจของผู้ฟัง เช่น รูปภาพ แผนภูมิ Power Point 
   เป็นต้น ผู้รายงานควรปฏิบัติ ดังนี้
        1.    มีการแนะนำาตัว และเปิดเรื่องบอกให้ผู้ฟังทราบว่าจะพูดเรื่อง
อะไร
        2.    ใช้ภาษาที่ทำาให้ผู้ฟังเข้าใจชัดเจน จังหวะ วรรค
   ตอน การพูด เสียงในการพูดไม่ค่อยเกินไป
        3.      บุคลิกท่าทางในการพูด มีความมั่นใจ การใช้นำ้า
   เสียงนุ่มนวล รักษาเวลาในการพูด
        4.      มีมารยาทในการพูด ใช้ภาษาสุภาพ ไม่แสดงกิริยา
 ที่ไม่เหมาะสม โกรธเคืองหรือดูหมิ่นผู้ฟัง
        5.      รายงานตามลำาดับหัวข้อที่เตรียมมา ไม่พูดวกวน มี
การสรุปเรื่องที่พูดได้ชัดเจนกระชับ
        6.  เปิดโอกาสให้ผู้ฟังซักถาม
       คุณสมบัติของผู้นำาเสนอ
                          ในการนำาเสนอด้วยวาจา คุณสมบัติอันเป็นลักษณะ
 ประจำาตัวของผู้นำาเสนอ ถือได้ว่าเป็นส่วนสำาคัญของความสำาเร็จใน
 การนำาเสนอ เพราะคุณสมบัติของผู้นำาเสนอจะมีอิทธิพลต่อการโน้นน้าว
     ชักจูงให้เกิดความสนใจ ความไว้วางใจ เชื่อถือ และการยอมรับได้
 มาก เท่ากับหรือมากกว่าเนื้อหาที่นำาเสนอ
                        ผู้นำาเสนอที่ประสพความสำาเร็จส่วนใหญ่ จะมี
คุณสมบัติดังต่อไปนี้
1.       มีบุคลิกดี
2.       มีความรู้อย่างถ่องแท้
3.       มีความน่าเชื่อถือไว้วางใจ
4.       มีความเชื่อมั่นในตนเอง
5.       มีภาพลักษณ์ที่ดี
6.       มีนำ้าเสียงชัดเจน
7.       มีจิตวิทยาโน้นน้าวใจ
8.       มีความสามารถในการใช้โสตทัศนอุปกรณ์
9.       มีความช่างสังเกต
10.     มีไหวพริบปฏิภาณในการคำาถามดี
การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศนำาเสนอ
งาน
การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศนำาเสนอ
งาน
หลักการนำาเสนอข้อมูลและสร้างสื่อนำาเสนอ การนำาเสนองานหรือผลงาน
นั้นสื่อนำาเสนอเปรียบเสมือนสะพานเชื่อมเนื้อหา ของผู้บรรยายไปยังผู้ฟัง
และผู้ชม ดังนั้นสื่อจึงมีบทบาทสำาคัญอย่างมาก สื่อที่ดี จะช่วยให้การ
ถ่ายทอดเนื้อหาสาระทำาได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น ผู้ฟังและผู้ชมจะสามารถ
จดจำาเนื้อหาสาระได้นานและเข้าใจในเนื้อหาได้ดีมากขึ้น ความหมาย
การนำาเสนอ การนำาเสนอข้อมูล หมายถึง การสื่อสารเพื่อเสนอข้อมูล ความ
รู้ ความคิดเห็น หรือความต้องการไปสู่ผู้ชม ผู้ฟังโดยใช้เทคนิคหรือวิธีการ
ต่าง ๆ อันจะทำาให้บรรลุ ผลสำาเร็จตามจุดมุ่งหมายของการนำาเสนอ
1) ทำาความเข้าใจกับงานที่เราต้องการนำาเสนอ
     ก่อนการเลือกระบบสารสนเทศมาใช้ในการนำาเสนองานนั้น เราต้อง
เข้าใจถึงลักษณะงานที่เราต้องการนำาเสนอก่อนว่า เป็นงานในลักษณะใด
เช่น เป็นข้อความ หรือมีการคำานวณหรือเป็นงานที่เกี่ยวกับการค้น การเก็บ
รักษาข้อมูล เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกระบบสารสนเทศที่เหมาะสมกับงาน
 นั้น ๆ
2) เลือกโปรแกรมสำาเร็จรูปมาใช้
     เมื่อทราบลักษณะของงานที่ต้องการนำาเสนอแล้ว เราจะเลือกระบบ
สารสนเทศที่เหมาะสมกับการนำาเสนองานนั้น งานบางอย่างเราอาจใช้ระบบ
สารสนเทศในการนำาเสนอได้หลายอย่าง เราอาจต้องเลือกว่าจะใช้ระบบ
  ใด ผู้ใช้ต้องมีความเข้าใจในความสามารถของระบบนั้น โดยเฉพาะในส่วน
ของซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมว่าแต่ละโปรแกรมมีความสามารถใดบ้าง เรา
อาจจะต้องทำาการประเมินว่าโปรแกรมใดมีความเหมาะสมเพียงใด แล้วจึง
เลือกโปรแกรมที่เห็นว่าเหมาะสมที่สุด
ของโปรแกรมก็ไม่เท่ากัน ทำาให้ความต้องการของฮาร์ดแวร์ในการทำางานตาม
โปรแกรมนั้นแตกต่างกัน ในคู่มือการใช้งานโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์นั้นจะบอก
ข้อกำาหนดของฮาร์ดแวร์ที่ต้องการสำาหรับการใช้งานไว้ว่าจะต้องมีส่วนประกอบ
อะไรบ้าง เราจะต้องจัดหาฮาร์ดแวร์ให้ได้ตามข้อกำาหนดนั้นเพื่อให้สามารถใช้
งานซอฟต์แวร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำาหรับระบบโปรแกรมสำาเร็จรูปที่ใช้กับ
ไมโครคอมพิวเตอร์นั้น ส่วนใหญ่สามารถนำามาใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์
มาตรฐานที่มีขายทั่วไปได้เลย ยกเว้นอุปกรณ์ประเภทเครื่องพิมพ์ที่อาจเลือกได้
ตามความต้องการว่าเป็นเครื่องพิมพ์สีขาว/ดำา หรือหลายสี จอภาพจะใช้ขนาด
ใหญ่กี่นิ้ว หรือฮาร์ดดิสก์ที่อาจต้องดูขนาดความต้องการว่าซอฟต์แวร์มีขนาด
เท่าใด และฮาร์ดดิสก์จะพอใช้หรือไม่ เพราะในไมโครคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่อง
นั้นเรามักจะบรรจุโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ไว้หลายชนิด และปริมาณแฟ้มข้อมูล
ที่มีอยู่เดิมอาจมากจนกระทั่งพื้นที่ที่เหลือไม่เพียงพอต่อการใช้งานโปรแกรม
สำาเร็จรูปใหม่นั้น
4 ) การใช้งานโปรแกรม
     ในการใช้งานนั้น นอกาจากผู้ใช้จะต้องทำาความเข้าใจการทำางานของ
ฮาร์ดแวร์ว่าใช้งานอย่างไรแล้ว รายละเอียดการใช้งานซอฟต์แวร์ ก็เป็นสิ่ง
สำาคัญที่ผู้ใช้จะต้องทำาความเข้าใจให้ชัดเจนก่อนการใช้งาน ส่วนใหญ่จะศึกษา
จากคู่มือของโปรแกรมสำาเร็จรูปนั้นเพื่อความเข้าใจในความสามารถก่อน ปกติ
แล้วคู่มือการใช้งานมาจากเจ้าของผู้ผลิตซอฟต์แวร์ ซึ่งมักจะอธิบายถึงความ
สามารถตามฟังก์ชั่นที่มีอยู่ แต่มักจะไม่ค่อยมีตัวอย่างการประยุกต์ใช้ ผู้ใช้ต้อง
ทดลองเอง จึงได้มีผู้ที่มีความรู้ความสามารถในโปรแกรมนั้น ๆ ทำาคู่มือการใช้
งานในลักษณะการประยุกต์ มีตัวอย่างของงานแสดงให้เห็น ทำาให้สามารถ
เรียนรู้ได้รวดเร็วขึ้นและในปัจจุบันนี้มีการทำาคู่มือการใช้งานในรูปของสื่อ
ผู้จัดทำา
• ชื่อ นาย จักรพรรดิ์ เกอวิน ชั้น ม.3/2 เลขที่ 2
• ชื่อ นาย ชินวัตร นันทสาร ชั้น ม.3/2 เลขที่ 1

More Related Content

โครงงาȨอมพิวเตอร์

  • 2. • การนำาเสนองาน • วัตถุประสงค์ในการนำาเสนอ • ผู้ฟัง • ผู้นำาเสนองาน • ข้อมูลที่ใช้ในการนำาเสนอ • กระบวรการในการนำาเสนอ • หลักการนำาเสนอที่ดี • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำาเสนองาน
  • 3. การนำาเสนองานการนำาเสนองาน ความหมายของการนำาเสนอข้อมูล การ นำาเสนอข้อมูล หมายถึง การสื่อสารเพื่อเสนอ ข้อมูล ความรู้ ความคิดเห็น หรือ ความต้องการไปสู่ผู้รับสาร โดยใช้เทคนิคหรือวิธีการต่างๆ อันจะทำาให้บรรลุผลสำาเร็จตาม จุดมุ่งหมายของการนำาเสนอ ประเภทของการนำาเสนอ 1. การ นำาเสนอเฉพาะกลุ่ม เป็นการนำาเสนอข้อมูลต่าง ๆ ต่อผู้ ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมรับทราบข้อมูล ในการนำาเสนอ 2. การ นำาเสนอทั่วไปในที่สาธารณะ เป็นการนำาเสนอข้อมูล ต่าง ๆ ที่เปิดโอกาสให้บุคคลทั่วไปเข้าร่วมฟังการนำาเสนอได้ มี การเปิดโอกาสให้ผู้ฟัง ได้ซักถามเพิ่มเติมหรือแสดงความคิด เห็นได้อีกด้วย
  • 4. วัตถุประสงค์ในการนำา เสนอ วัตถุประสงค์ในการนำา เสนอ ความสำาคัญของการนำาเสนอ ใน ปัจจุบันนี้การนำาเสนอเข้ามามีบทบาท สำาคัญในองค์กรทางธุรกิจ ทางการเมือง ทางการศึกษา หรือแม้แต่หน่วยงานของรัฐทุกแห่ง ก็ต้องอาศัยวิธี การนำาเสนอเพื่อสื่อสารข้อมูล เสนอความเห็น เสนอขอ อนุมัติ หรือเสนอข้อสรุปผลการดำาเนินงานต่างๆ ผู้ มีหน้าที่เกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ การแนะนำาเพื่อการ เยี่ยมชม การฝึกอบรม การประชุม หรือผู้ที่เป็นหัวหน้า งานทุกระดับจะต้องรู้จักวิธีการนำาเสนอ เพื่อนำาไปใช้ ให้เหมาะสมกับงานต่างๆ และเพื่อผลสำาเร็จของการ พัฒนางานของตน หรือขององค์กรและหน่วยงานต่างๆ กล่าวโดยสรุป การนำาเสนอมีความสำาคัญ ต่อการปฏิบัติ งานทุกประเภท เพราะช่วยในการตัดสินใจในการ ดำาเนินงาน ใช้ในการพัฒนางาน ตลอดจนเผยแพร่
  • 5. ผู้ฟังผู้ฟัง การฟังต้องมีความกระตือรือร้น คือสนใจและเล็งเห็น ประโยชน์จากการฟังอย่างแท้จริง ไม่ใช่ฟังด้วยจาใจ หรือ ถูกบังคับ การฟังต้องไม่มีอคติ การมีอคติ ได้แก่ การลาเอียง อาจจะเป็นลาเอียงเพราะรัก ลาเอียงเพราะ โกรธ ลา เอียงเพราะหลง การลาเอียงทาให้แปลเจตนาในการ ฟังผิดความหมาย หรือ คลาดเคลื่อนจากที่เป็นจริงได้ ถ้าผู้เรียนยึดถือ หลักการฟังทั้ง นี้ ก็จะเป็นผู้รับสาร ด้วยการฟัง ได้ครบถ้วนตามความมุ่งหมาย
  • 6. 1. เพื่อ ให้ผู้รับสารรับทราบความคิดเห็นหรือความต้องการ เช่น ในการประชุมคณะ กรรมการต่างๆ ประธานในที่ประชุม จะต้องชี้แจงวาระการประชุมให้ที่ประชุมรับทราบ ที่มักเรียก กันว่าเรื่องที่ประธานจะแจ้งให้ทราบ 2. เพื่อ ให้ผู้รับสารพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น ในการ ประชุมคณะกรรมการแต่ละครั้งคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ จะ ต้องชี้แจงข้อมูลหรือแสดงความคิดเห็นให้ที่ประชุมรับได้ทราบ เพื่อประกอบการพิจารณาวินิจฉัยหรือลงมติที่ประชุม 3. เพื่อ ให้ผู้รับสารได้รับความรู้จากข้อมูลที่นำาเสนอ เช่น ใน การฝึกอบรมหรือการสัมมนา วิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญจะต้อง นำาเสนอข้อมูลที่เป็นข้อความรู้ และข้อเท็จจริงต่างๆ ให้แก่ผู้ เข้าฝึกอบรม หรือใช้ ในการบรรยายสรุปผลการดำาเนินงาน ต่างๆ เพื่อให้ผู้มาเยี่ยมชมกิจการ หรือผู้บังคับบัญชาที่เดินทาง มาตรวจเยี่ยมได้รับทราบ 4. เพื่อ ให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง เช่น การชี้แจง ระเบียบหรือวิธีการปฏิบัติต่าง ๆ ให้แก่ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจ โดย เฉพาะเมื่อมีการออกระเบียบใหม่หรือเปลี่ยนแนวทางในการ ข้อมูลที่ใช้ในการนำา เสนอ ข้อมูลที่ใช้ในการนำา เสนอ
  • 7. ข้อมูลที่นามาใช้ในการนาเสนองาน ไม่ว่าจะเป็ น เนื้อหา รูปภาพ วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียงต่างๆ ควรเป็ นหลักฐานที่มีความถูกต้อง ครบถ้วย น่าเชื่อถือ มีความเป็ นไป ได้ พิสูจน์ได้ และมีความทันสมัย ใน การจะนาเสนองานนั้น ควรที่จะเตรียมข้อมูลให้ เรียบร้อยก่อนที่ จะนามาเสนอ ในปัจจุบันโปรแกรมที่ ใช้ใน การนาเสนอ มีให้เลือกใช้งานกันหลาย โปรแกรม
  • 8. กระบวรการในการนำา เสนอ กระบวรการในการนำา เสนอ   การนำาเสนอข้อมูลด้วยวาจา หรือการรายงานปากเปล่า เป็นการ  นำารายละเอียดที่ได้จาก การศึกษาค้นคว้า มารายงานหน้าชั้นเรียน  โดยใช้เวลา 8-10    นาที ผู้รายงานอาจใช้สื่อประกอบการพูด เพื่อ      เร้าความสนใจของผู้ฟัง เช่น รูปภาพ แผนภูมิ Power Point     เป็นต้น ผู้รายงานควรปฏิบัติ ดังนี้         1.    มีการแนะนำาตัว และเปิดเรื่องบอกให้ผู้ฟังทราบว่าจะพูดเรื่อง อะไร         2.    ใช้ภาษาที่ทำาให้ผู้ฟังเข้าใจชัดเจน จังหวะ วรรค    ตอน การพูด เสียงในการพูดไม่ค่อยเกินไป         3.      บุคลิกท่าทางในการพูด มีความมั่นใจ การใช้นำ้า    เสียงนุ่มนวล รักษาเวลาในการพูด         4.      มีมารยาทในการพูด ใช้ภาษาสุภาพ ไม่แสดงกิริยา  ที่ไม่เหมาะสม โกรธเคืองหรือดูหมิ่นผู้ฟัง         5.      รายงานตามลำาดับหัวข้อที่เตรียมมา ไม่พูดวกวน มี การสรุปเรื่องที่พูดได้ชัดเจนกระชับ         6.  เปิดโอกาสให้ผู้ฟังซักถาม
  • 9. หลักการนำาเสนอที่ดีหลักการนำาเสนอที่ดีหลักการนำาเสนอที่ดี    การนำาเสนอข้อมูลด้วยวาจา หรือการรายงานปากเปล่า เป็นการ  นำารายละเอียดที่ได้จาก การศึกษาค้นคว้า มารายงานหน้าชั้นเรียน  โดยใช้เวลา 8-10    นาที ผู้รายงานอาจใช้สื่อประกอบการพูด เพื่อ      เร้าความสนใจของผู้ฟัง เช่น รูปภาพ แผนภูมิ Power Point     เป็นต้น ผู้รายงานควรปฏิบัติ ดังนี้         1.    มีการแนะนำาตัว และเปิดเรื่องบอกให้ผู้ฟังทราบว่าจะพูดเรื่อง อะไร         2.    ใช้ภาษาที่ทำาให้ผู้ฟังเข้าใจชัดเจน จังหวะ วรรค    ตอน การพูด เสียงในการพูดไม่ค่อยเกินไป         3.      บุคลิกท่าทางในการพูด มีความมั่นใจ การใช้นำ้า    เสียงนุ่มนวล รักษาเวลาในการพูด         4.      มีมารยาทในการพูด ใช้ภาษาสุภาพ ไม่แสดงกิริยา  ที่ไม่เหมาะสม โกรธเคืองหรือดูหมิ่นผู้ฟัง         5.      รายงานตามลำาดับหัวข้อที่เตรียมมา ไม่พูดวกวน มี การสรุปเรื่องที่พูดได้ชัดเจนกระชับ         6.  เปิดโอกาสให้ผู้ฟังซักถาม
  • 10.        คุณสมบัติของผู้นำาเสนอ                           ในการนำาเสนอด้วยวาจา คุณสมบัติอันเป็นลักษณะ  ประจำาตัวของผู้นำาเสนอ ถือได้ว่าเป็นส่วนสำาคัญของความสำาเร็จใน  การนำาเสนอ เพราะคุณสมบัติของผู้นำาเสนอจะมีอิทธิพลต่อการโน้นน้าว      ชักจูงให้เกิดความสนใจ ความไว้วางใจ เชื่อถือ และการยอมรับได้  มาก เท่ากับหรือมากกว่าเนื้อหาที่นำาเสนอ                         ผู้นำาเสนอที่ประสพความสำาเร็จส่วนใหญ่ จะมี คุณสมบัติดังต่อไปนี้ 1.       มีบุคลิกดี 2.       มีความรู้อย่างถ่องแท้ 3.       มีความน่าเชื่อถือไว้วางใจ 4.       มีความเชื่อมั่นในตนเอง 5.       มีภาพลักษณ์ที่ดี 6.       มีนำ้าเสียงชัดเจน 7.       มีจิตวิทยาโน้นน้าวใจ 8.       มีความสามารถในการใช้โสตทัศนอุปกรณ์ 9.       มีความช่างสังเกต 10.     มีไหวพริบปฏิภาณในการคำาถามดี
  • 11. การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศนำาเสนอ งาน การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศนำาเสนอ งาน หลักการนำาเสนอข้อมูลและสร้างสื่อนำาเสนอ การนำาเสนองานหรือผลงาน นั้นสื่อนำาเสนอเปรียบเสมือนสะพานเชื่อมเนื้อหา ของผู้บรรยายไปยังผู้ฟัง และผู้ชม ดังนั้นสื่อจึงมีบทบาทสำาคัญอย่างมาก สื่อที่ดี จะช่วยให้การ ถ่ายทอดเนื้อหาสาระทำาได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น ผู้ฟังและผู้ชมจะสามารถ จดจำาเนื้อหาสาระได้นานและเข้าใจในเนื้อหาได้ดีมากขึ้น ความหมาย การนำาเสนอ การนำาเสนอข้อมูล หมายถึง การสื่อสารเพื่อเสนอข้อมูล ความ รู้ ความคิดเห็น หรือความต้องการไปสู่ผู้ชม ผู้ฟังโดยใช้เทคนิคหรือวิธีการ ต่าง ๆ อันจะทำาให้บรรลุ ผลสำาเร็จตามจุดมุ่งหมายของการนำาเสนอ
  • 12. 1) ทำาความเข้าใจกับงานที่เราต้องการนำาเสนอ      ก่อนการเลือกระบบสารสนเทศมาใช้ในการนำาเสนองานนั้น เราต้อง เข้าใจถึงลักษณะงานที่เราต้องการนำาเสนอก่อนว่า เป็นงานในลักษณะใด เช่น เป็นข้อความ หรือมีการคำานวณหรือเป็นงานที่เกี่ยวกับการค้น การเก็บ รักษาข้อมูล เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกระบบสารสนเทศที่เหมาะสมกับงาน  นั้น ๆ 2) เลือกโปรแกรมสำาเร็จรูปมาใช้      เมื่อทราบลักษณะของงานที่ต้องการนำาเสนอแล้ว เราจะเลือกระบบ สารสนเทศที่เหมาะสมกับการนำาเสนองานนั้น งานบางอย่างเราอาจใช้ระบบ สารสนเทศในการนำาเสนอได้หลายอย่าง เราอาจต้องเลือกว่าจะใช้ระบบ   ใด ผู้ใช้ต้องมีความเข้าใจในความสามารถของระบบนั้น โดยเฉพาะในส่วน ของซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมว่าแต่ละโปรแกรมมีความสามารถใดบ้าง เรา อาจจะต้องทำาการประเมินว่าโปรแกรมใดมีความเหมาะสมเพียงใด แล้วจึง เลือกโปรแกรมที่เห็นว่าเหมาะสมที่สุด
  • 13. ของโปรแกรมก็ไม่เท่ากัน ทำาให้ความต้องการของฮาร์ดแวร์ในการทำางานตาม โปรแกรมนั้นแตกต่างกัน ในคู่มือการใช้งานโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์นั้นจะบอก ข้อกำาหนดของฮาร์ดแวร์ที่ต้องการสำาหรับการใช้งานไว้ว่าจะต้องมีส่วนประกอบ อะไรบ้าง เราจะต้องจัดหาฮาร์ดแวร์ให้ได้ตามข้อกำาหนดนั้นเพื่อให้สามารถใช้ งานซอฟต์แวร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำาหรับระบบโปรแกรมสำาเร็จรูปที่ใช้กับ ไมโครคอมพิวเตอร์นั้น ส่วนใหญ่สามารถนำามาใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ มาตรฐานที่มีขายทั่วไปได้เลย ยกเว้นอุปกรณ์ประเภทเครื่องพิมพ์ที่อาจเลือกได้ ตามความต้องการว่าเป็นเครื่องพิมพ์สีขาว/ดำา หรือหลายสี จอภาพจะใช้ขนาด ใหญ่กี่นิ้ว หรือฮาร์ดดิสก์ที่อาจต้องดูขนาดความต้องการว่าซอฟต์แวร์มีขนาด เท่าใด และฮาร์ดดิสก์จะพอใช้หรือไม่ เพราะในไมโครคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่อง นั้นเรามักจะบรรจุโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ไว้หลายชนิด และปริมาณแฟ้มข้อมูล ที่มีอยู่เดิมอาจมากจนกระทั่งพื้นที่ที่เหลือไม่เพียงพอต่อการใช้งานโปรแกรม สำาเร็จรูปใหม่นั้น 4 ) การใช้งานโปรแกรม      ในการใช้งานนั้น นอกาจากผู้ใช้จะต้องทำาความเข้าใจการทำางานของ ฮาร์ดแวร์ว่าใช้งานอย่างไรแล้ว รายละเอียดการใช้งานซอฟต์แวร์ ก็เป็นสิ่ง สำาคัญที่ผู้ใช้จะต้องทำาความเข้าใจให้ชัดเจนก่อนการใช้งาน ส่วนใหญ่จะศึกษา จากคู่มือของโปรแกรมสำาเร็จรูปนั้นเพื่อความเข้าใจในความสามารถก่อน ปกติ แล้วคู่มือการใช้งานมาจากเจ้าของผู้ผลิตซอฟต์แวร์ ซึ่งมักจะอธิบายถึงความ สามารถตามฟังก์ชั่นที่มีอยู่ แต่มักจะไม่ค่อยมีตัวอย่างการประยุกต์ใช้ ผู้ใช้ต้อง ทดลองเอง จึงได้มีผู้ที่มีความรู้ความสามารถในโปรแกรมนั้น ๆ ทำาคู่มือการใช้ งานในลักษณะการประยุกต์ มีตัวอย่างของงานแสดงให้เห็น ทำาให้สามารถ เรียนรู้ได้รวดเร็วขึ้นและในปัจจุบันนี้มีการทำาคู่มือการใช้งานในรูปของสื่อ
  • 14. ผู้จัดทำา • ชื่อ นาย จักรพรรดิ์ เกอวิน ชั้น ม.3/2 เลขที่ 2 • ชื่อ นาย ชินวัตร นันทสาร ชั้น ม.3/2 เลขที่ 1