ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
บทที่ ๕
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ;
ภาพสะท้อนลักษณะของภาษาไทย
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวฐานียา ศรีคราม รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๒๕
นางสาวจิตรกัญญา โนนเฮ้า รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๗๑
นางสาววรัญญา ภักดี รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๗๒
นางสาวปวีณา จินดาทิพย์ รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๗๔
นางสาวนฤมล นาคภูมิ รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๘๒
นางสาวจิราวรรณ ตองอบ รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๑๐๗
ตัวอย่างการพูด การเขียน ภาษาไทยของนักศึกษาชาวต่างประเทศ
- “ดุร้ายสัตว์” (สัตว์ดุร้าย)
- “ไปไม่ยาวรถเสีย” (แต่ไปได้ไม่ไกลรถก็เสีย)
- “ผมเห็นช้างเคยแล้ว” (ผมเคยเห็นช้างแล้ว)
- “เขาหาแว่นตาทุกที่ ในที่สุดก็พบที่หัวข้างบน” (ในที่สุดก็พบว่าอยู่บนหัว)
- คุณครั้งแรกเคยมาหรือไหม (คุณเคยมาครั้งแรกหรือ)
บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ;
(ภาพสะท้อนลักษณะของภาษาไทย)
เป็นการสะท้อนให้เห็นปรากฏการณ์อย่างน้อย ๓ เรื่อง คือ
๑. อิทธิพลการแทรกแซงของภาษาแม่ ซึ่งผู้เรียนเป็นคนพูด
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ จึงมีการวางคาขยายไว้หน้าคาขยาย เช่น ร้อน
อากาศ (อากาศร้อน), มากกว่าสนุก (สนุกมากกว่า)
๒. ความยากของภาษาไทย เพราะ ภาษาไทยเป็นคาโดด การเรียน
ไวยากรณ์เบื้องต้นที่ดูเหมือนว่าง่าย แต่บางครั้งก็ใช้ไม่ได้ มีการใช้
ลักษณะนาม ตามหลังจานวนนับ เป็นต้น
๓. ความไม่เข้าใจในการใช้คา ใช้ภาษาของเจ้าของภาษา ซึ่งไม่
สามารถเปิดพจนานุกรมหาความหมายแล้วใช้แทนได้ แต่ถ้าแปลและวิธีใช้
ศัพท์ ตามภาษาของผู้เรียนมาใช้ในภาษาไทย เช่นคาว่า ล้าง อาบน้า สระผม
ภาษาอังกฤษใช้ wash แทนได้แต่ในภาษาไทยไม่สามารถใช้แทนกันได้ เช่น
ล้างผม อาบน้าจาน
อีกประการที่สอนยาก คือ การใช้น้าเสียงของถ้อยคาที่มีอยู่ใน
ประโยค ซึ่งผู้ที่จะสอนต้องยกตัวอย่างในสถานการณ์ต่างๆให้มาก
CA. หรือ Contrastive Analysis เป็นการวิเคราะห์ความแตกต่าง
ของภาษาแม่กับภาษาเป้าหมาย ถ้าหากผู้สอน ทราบว่านักเรียนเป็นผู้พูด
ภาษาใดก็ควรที่จะมีการศึกษา วิจัยของผู้ที่เคยทาไว้ หรือไม่ก็ควรทาวิจัยด้วย
ตัวเอง แต่ถ้าไม่ทราบล่วงหน้า หรือมีผู้เรียนคละกันหลายภาษาในชั้น ต้อง
ระวังข้อได้เปรียบเสียเปรียบที่จะเกิดขึ้นด้วย
ผู้สอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ต้องมีการเตือนเพื่อให้
ผู้เรียนระมัดระวังว่าภาษาไทยมีระเบียบภาษาที่แตกต่างจากภาษาของผู้เรียน
อย่างไร
CA.ในทางปฏิบัติ
๑. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีน้าเสียงขึ้นลง หรือมีเสียงวรรณยุกต์ ซึ่งถือว่า
เป็นจุดยากที่สุดของภาษาไทย โดยได้มีผู้เขียน ตาราเพื่อจะอธิบายลักษณะ
เสียง ในรูปแบบของเส้นกราฟ ซึ่งผู้เรียนประสบปัญหาด้านการออกเสียง
วรรณยุกต์มากแม้จะอยู่ในเมืองไทยมานาน
ลักษณะภาษาไทย
๒. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเสียงสั้น-ยาว และมีเสียงท้ายที่สาคัญต่อ
ความหมาย ภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงขึ้นลง เหมือนภาษาไทย แต่ความ
ยากของภาษาไทยที่คนจีนออกเสียงไม่เป็นก็คือ เสียงสั้น-ยาว เช่น
สถาบัน-สถาบาน จบจักจุฬา-จบจากจุฬา เป็นต้น
หรือเสียงพยัญชนะท้าย มาตราตัวสะกด ๘ มาตราของไทย ซึ่ง
เป็นปัญหาสาหรับผู้เรียนที่ภาษาแม่ไม่มี หรือมีแต่ไม่สาคัญ เช่น
ภาษาญี่ปุ่น มีเสียง กง กม กน ซึ่งสามารถใช้แทนกันได้
๓. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีการลงและไม่ลงน้าหนักเสียง
แบ่งเป็น ๔ ระดับคือ
๓.๑ ไม่ลงน้าหนัก พยางค์เปิดมักจะเป็นพยางค์ที่ไม่ลงน้าหนัก เมื่อ
มีพยางค์ที่ลงน้าหนักมารับข้างท้าย เช่นคาว่า และ จะ กับ ที่ เช่น พ่อและ
แม่จะไปไหน ข้าวกับไข่ อยู่ที่บ้าน เป็นต้น
๓.๒ การลงน้าหนัก คาที่ทาหน้าที่เป็นองค์ประกอบ สาคัญของ
ประโยค เช่น เป็นประธานหรือกรรม เช่น ความกตัญญูกตเวทีเป็น
เครื่องหมายของคน ดี เป็นต้น
๓.๓ การลงเสียงเน้นหนัก คือ จงใจออกเสียงเน้นพยางค์ เช่น เมื่อ
ต้องการโต้แย้ง แสดงข้อเปรียบเทียบหรือเน้นความสนใจ เช่น
ขอดินสอแดง ไม่ใช่ดินสอดา
๓.๔ การลงเสียงเน้นหนักพิเศษ เป็นการทาให้เสียงวรรณยุกต์ต่าง
ไปจากปกติ เพื่อเป็นความหมายพิเศษหรือแสดงอารมณ์ เช่น ดีใจ...ดีใจ
เป็นต้น
๔. ภาษาไทยมีช่วงต่อของเสียงชิดและห่าง
ช่วงต่อชิด เช่น น้าเดือด สิบสอง แนะนา
ช่วงต่อห่าง ช่วงต่อห่างต่างกันทาให้ความหมายเปลี่ยน เช่น
รถบรรทุกของ + ไปตลาด
รถ + บรรทุกของไปตลาด
๕. ภาษาไทยมีทานองเสียงขึ้นหรือเสียงตก ซึ่งไม่ใช่ลักษณะของภาษาไทย
แต่ใช้เพื่อช่วยแสดงความหมายของประโยคต่างๆ ในภาษาไทย
ทานองเสียงขึ้น เช่น ทาอะไรอยู่จ๊ะ (คาถาม)
ทานองเสียงตก เช่น ไปด้วยกันหน่อยน่ะ (อ้อนวอน)
๖. ภาษาไทยใช้ลักษณนาม ซึ่งเป็นเรื่องที่จาได้ยาก สาหรับชาวต่างชาติ เช่น
ลักษณนาม อัน สาหรับทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้องใช้ลักษณนาม เพราะเขาจาไม่ไหว
ดังนั้น เรื่องการใช้ลักษณนามเป็นเรื่องที่ต้องสอนแบบค่อยเป็นค่อยไป
๗. ภาษาไทยมีบุรุษสรรพนาม เนื่องจากบุรุษสรรพนามนั้นสาคัญต่อคาสุภาพ
เพราะเป็นการยกย่องให้เกียรติบุคคล จึงเป็นสิ่งที่ต้องสอนและฝึกใช้ให้ถูกต้อง
๘. ภาษาไทยมีคาราชาศัพท์หรือคาสุภาพ เนื่องมาจากภาษาไทยมีคาพื้นฐาน
ที่เป็นภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาบาลี สันสกฤต และเขมร ซึ่งนักศึกษา
อาจจะประสบกับความยากเหล่านี้ของคาราชาศัพท์ คาสุภาพและคาศัพท์
ต่างๆ ทั้งนี้ก็ขึ้นกับเป้าหมายและเวลาในการเรียนของผู้เรียนว่าต้องการ
ระดับความลึกซึ้งในการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมไทยเพียงไร
๙. ภาษาไทยก็มีภาษาพูดและภาษาเขียน ในบทสนทนามีการใช้ภาษาพูด
เป็นจานวนมาก แต่ในบทอ่านและบทฟังได้ปรับเป็นภาษาเขียนมากขึ้น
ตัวอย่างเช่น นิดหน่อย ในบทสนทนา ก็จะใช้ว่า เล็กน้อย และเมื่อผู้เรียน
เข้ามาเรียนในประเทศไทยสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เลยคือ คาลงท้าย เพราะจะ
เกี่ยวพันกับการลงน้าหนักเสียงและทานองเสียงขึ้นหรือตกด้วย
๑๐. ภาษาไทยใช้การเรียงคาเพื่อเข้าประโยค ในภาษาไทยจะมีหลัก
ไวยกรณ์ ซึ่งจะเรียงประโยคแบบ ประธาน กริยา กรรม ลักษณะภาษาไทย
เหล่านี้จึงเป็นเรื่องที่สาคัญที่ต้องเรียนรู้ และการเรียนแบบไวยากรณ์ยังเป็น
การชี้ให้เห็นลักษณะแตกต่างออกไปของภาษาไทยอีกด้วย
สิ้นสุึϸารȨ๶สนอ

More Related Content

บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ภาพสะท้อนลักษณะของภาษาไทย

  • 2. สมาชิกในกลุ่ม นางสาวฐานียา ศรีคราม รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๒๕ นางสาวจิตรกัญญา โนนเฮ้า รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๗๑ นางสาววรัญญา ภักดี รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๗๒ นางสาวปวีณา จินดาทิพย์ รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๗๔ นางสาวนฤมล นาคภูมิ รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๐๘๒ นางสาวจิราวรรณ ตองอบ รหัสนิสิต ๕๕๘๑๑๒๔๑๐๗
  • 3. ตัวอย่างการพูด การเขียน ภาษาไทยของนักศึกษาชาวต่างประเทศ - “ดุร้ายสัตว์” (สัตว์ดุร้าย) - “ไปไม่ยาวรถเสีย” (แต่ไปได้ไม่ไกลรถก็เสีย) - “ผมเห็นช้างเคยแล้ว” (ผมเคยเห็นช้างแล้ว) - “เขาหาแว่นตาทุกที่ ในที่สุดก็พบที่หัวข้างบน” (ในที่สุดก็พบว่าอยู่บนหัว) - คุณครั้งแรกเคยมาหรือไหม (คุณเคยมาครั้งแรกหรือ) บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ; (ภาพสะท้อนลักษณะของภาษาไทย)
  • 4. เป็นการสะท้อนให้เห็นปรากฏการณ์อย่างน้อย ๓ เรื่อง คือ ๑. อิทธิพลการแทรกแซงของภาษาแม่ ซึ่งผู้เรียนเป็นคนพูด ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ จึงมีการวางคาขยายไว้หน้าคาขยาย เช่น ร้อน อากาศ (อากาศร้อน), มากกว่าสนุก (สนุกมากกว่า) ๒. ความยากของภาษาไทย เพราะ ภาษาไทยเป็นคาโดด การเรียน ไวยากรณ์เบื้องต้นที่ดูเหมือนว่าง่าย แต่บางครั้งก็ใช้ไม่ได้ มีการใช้ ลักษณะนาม ตามหลังจานวนนับ เป็นต้น
  • 5. ๓. ความไม่เข้าใจในการใช้คา ใช้ภาษาของเจ้าของภาษา ซึ่งไม่ สามารถเปิดพจนานุกรมหาความหมายแล้วใช้แทนได้ แต่ถ้าแปลและวิธีใช้ ศัพท์ ตามภาษาของผู้เรียนมาใช้ในภาษาไทย เช่นคาว่า ล้าง อาบน้า สระผม ภาษาอังกฤษใช้ wash แทนได้แต่ในภาษาไทยไม่สามารถใช้แทนกันได้ เช่น ล้างผม อาบน้าจาน อีกประการที่สอนยาก คือ การใช้น้าเสียงของถ้อยคาที่มีอยู่ใน ประโยค ซึ่งผู้ที่จะสอนต้องยกตัวอย่างในสถานการณ์ต่างๆให้มาก
  • 6. CA. หรือ Contrastive Analysis เป็นการวิเคราะห์ความแตกต่าง ของภาษาแม่กับภาษาเป้าหมาย ถ้าหากผู้สอน ทราบว่านักเรียนเป็นผู้พูด ภาษาใดก็ควรที่จะมีการศึกษา วิจัยของผู้ที่เคยทาไว้ หรือไม่ก็ควรทาวิจัยด้วย ตัวเอง แต่ถ้าไม่ทราบล่วงหน้า หรือมีผู้เรียนคละกันหลายภาษาในชั้น ต้อง ระวังข้อได้เปรียบเสียเปรียบที่จะเกิดขึ้นด้วย ผู้สอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ต้องมีการเตือนเพื่อให้ ผู้เรียนระมัดระวังว่าภาษาไทยมีระเบียบภาษาที่แตกต่างจากภาษาของผู้เรียน อย่างไร CA.ในทางปฏิบัติ
  • 7. ๑. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีน้าเสียงขึ้นลง หรือมีเสียงวรรณยุกต์ ซึ่งถือว่า เป็นจุดยากที่สุดของภาษาไทย โดยได้มีผู้เขียน ตาราเพื่อจะอธิบายลักษณะ เสียง ในรูปแบบของเส้นกราฟ ซึ่งผู้เรียนประสบปัญหาด้านการออกเสียง วรรณยุกต์มากแม้จะอยู่ในเมืองไทยมานาน ลักษณะภาษาไทย
  • 8. ๒. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเสียงสั้น-ยาว และมีเสียงท้ายที่สาคัญต่อ ความหมาย ภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงขึ้นลง เหมือนภาษาไทย แต่ความ ยากของภาษาไทยที่คนจีนออกเสียงไม่เป็นก็คือ เสียงสั้น-ยาว เช่น สถาบัน-สถาบาน จบจักจุฬา-จบจากจุฬา เป็นต้น หรือเสียงพยัญชนะท้าย มาตราตัวสะกด ๘ มาตราของไทย ซึ่ง เป็นปัญหาสาหรับผู้เรียนที่ภาษาแม่ไม่มี หรือมีแต่ไม่สาคัญ เช่น ภาษาญี่ปุ่น มีเสียง กง กม กน ซึ่งสามารถใช้แทนกันได้
  • 9. ๓. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีการลงและไม่ลงน้าหนักเสียง แบ่งเป็น ๔ ระดับคือ ๓.๑ ไม่ลงน้าหนัก พยางค์เปิดมักจะเป็นพยางค์ที่ไม่ลงน้าหนัก เมื่อ มีพยางค์ที่ลงน้าหนักมารับข้างท้าย เช่นคาว่า และ จะ กับ ที่ เช่น พ่อและ แม่จะไปไหน ข้าวกับไข่ อยู่ที่บ้าน เป็นต้น ๓.๒ การลงน้าหนัก คาที่ทาหน้าที่เป็นองค์ประกอบ สาคัญของ ประโยค เช่น เป็นประธานหรือกรรม เช่น ความกตัญญูกตเวทีเป็น เครื่องหมายของคน ดี เป็นต้น
  • 10. ๓.๓ การลงเสียงเน้นหนัก คือ จงใจออกเสียงเน้นพยางค์ เช่น เมื่อ ต้องการโต้แย้ง แสดงข้อเปรียบเทียบหรือเน้นความสนใจ เช่น ขอดินสอแดง ไม่ใช่ดินสอดา ๓.๔ การลงเสียงเน้นหนักพิเศษ เป็นการทาให้เสียงวรรณยุกต์ต่าง ไปจากปกติ เพื่อเป็นความหมายพิเศษหรือแสดงอารมณ์ เช่น ดีใจ...ดีใจ เป็นต้น
  • 11. ๔. ภาษาไทยมีช่วงต่อของเสียงชิดและห่าง ช่วงต่อชิด เช่น น้าเดือด สิบสอง แนะนา ช่วงต่อห่าง ช่วงต่อห่างต่างกันทาให้ความหมายเปลี่ยน เช่น รถบรรทุกของ + ไปตลาด รถ + บรรทุกของไปตลาด
  • 12. ๕. ภาษาไทยมีทานองเสียงขึ้นหรือเสียงตก ซึ่งไม่ใช่ลักษณะของภาษาไทย แต่ใช้เพื่อช่วยแสดงความหมายของประโยคต่างๆ ในภาษาไทย ทานองเสียงขึ้น เช่น ทาอะไรอยู่จ๊ะ (คาถาม) ทานองเสียงตก เช่น ไปด้วยกันหน่อยน่ะ (อ้อนวอน)
  • 13. ๖. ภาษาไทยใช้ลักษณนาม ซึ่งเป็นเรื่องที่จาได้ยาก สาหรับชาวต่างชาติ เช่น ลักษณนาม อัน สาหรับทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้องใช้ลักษณนาม เพราะเขาจาไม่ไหว ดังนั้น เรื่องการใช้ลักษณนามเป็นเรื่องที่ต้องสอนแบบค่อยเป็นค่อยไป ๗. ภาษาไทยมีบุรุษสรรพนาม เนื่องจากบุรุษสรรพนามนั้นสาคัญต่อคาสุภาพ เพราะเป็นการยกย่องให้เกียรติบุคคล จึงเป็นสิ่งที่ต้องสอนและฝึกใช้ให้ถูกต้อง
  • 14. ๘. ภาษาไทยมีคาราชาศัพท์หรือคาสุภาพ เนื่องมาจากภาษาไทยมีคาพื้นฐาน ที่เป็นภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาบาลี สันสกฤต และเขมร ซึ่งนักศึกษา อาจจะประสบกับความยากเหล่านี้ของคาราชาศัพท์ คาสุภาพและคาศัพท์ ต่างๆ ทั้งนี้ก็ขึ้นกับเป้าหมายและเวลาในการเรียนของผู้เรียนว่าต้องการ ระดับความลึกซึ้งในการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมไทยเพียงไร
  • 15. ๙. ภาษาไทยก็มีภาษาพูดและภาษาเขียน ในบทสนทนามีการใช้ภาษาพูด เป็นจานวนมาก แต่ในบทอ่านและบทฟังได้ปรับเป็นภาษาเขียนมากขึ้น ตัวอย่างเช่น นิดหน่อย ในบทสนทนา ก็จะใช้ว่า เล็กน้อย และเมื่อผู้เรียน เข้ามาเรียนในประเทศไทยสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เลยคือ คาลงท้าย เพราะจะ เกี่ยวพันกับการลงน้าหนักเสียงและทานองเสียงขึ้นหรือตกด้วย
  • 16. ๑๐. ภาษาไทยใช้การเรียงคาเพื่อเข้าประโยค ในภาษาไทยจะมีหลัก ไวยกรณ์ ซึ่งจะเรียงประโยคแบบ ประธาน กริยา กรรม ลักษณะภาษาไทย เหล่านี้จึงเป็นเรื่องที่สาคัญที่ต้องเรียนรู้ และการเรียนแบบไวยากรณ์ยังเป็น การชี้ให้เห็นลักษณะแตกต่างออกไปของภาษาไทยอีกด้วย