ݺߣ
Submit Search
ป่าชายลน
•
0 likes
•
5,860 views
C
Chapa Paha
Follow
ปา
Read less
Read more
1 of 21
Download now
Download to read offline
More Related Content
ป่าชายลน
1.
ระบบนิเวศบริเวณป่าชายลน
2.
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน โครงงานนี้ จัดทาขึ้นเนื่องจากดิฉันได้มีโอกาสไปเที่ยวทางตอนใต้ของ ประเทศไทยมาหลายจังหวัด เช่น
ภูเก็ต เป็นต้น ได้ทากิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ และพัฒนาป่าชายลนและสัตว์ทะเลมา จึงได้มีแนวคิดที่จะศึกษาระบบนิเวศบริเวณ ป่าชาย เพื่อให้เข้าใจถึงความอุดมสมบูรณ์และประโยชน์ของป่าชายลน และ ถ่ายทอดออกมาให้คนรุ่นหลังได้เข้าใจ เพื่อสร้างความตระหนักและร่วมใจการ อนุรักษ์ป่าชายลนที่ในปัจจุบันนี้ ได้ถูกบุกรุกพื้นที่มากมายเพื่อนาไปประกอบธุรกิจ ส่วนตัว รวมถึงการทิ้งขยะลงแม่น้าและจับสัตว์น้าบริเวณป่าชายลนไป ทาให้ ธรรมชาติขาดสมดุลและก่อให้เกิดผลกระทบต่างๆตามมา จึงจัดทาโครงงานนี้ เพื่อ เป็นแนวทาง หรือให้ผู้ที่ต้องการศึกษา สนใจ ในระบบนิเวศบริเวณป่าชายลน ได้ ศึกษาและตระหนักถึงคุณค่าของป่าชายลนและสัตว์น้าบริเวณนั้นเพื่อช่วยกัน อนุรักษ์ป่าชายลนให้คงอยู่ตลอดไป
3.
วัตถุประสงค์ในการทาโครงงาน 1. เพื่อศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับระบบนิเวศบริเวณป่าชายลน 2. เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างความตระหนักให้เยาวชนรุ่นหลังได้ศึกษาและ ร่วมมือกันอนุรักษ์สัตว์น้าและป่าชายลน 3.
พื่อช่วยให้ธรรมชาติบริวณȨ้นกลับมามีความสมึϸล
4.
ขอบเขตโครงงาน • ความหมายของป่าชายลน • พืชที่ขึ้นบริเวณรอบป่าชายลน •
ห่วงโซ่อาหารบริเวณป่าชายลน • ป่าชายลนในประเทศไทย • ประโยชน์ของป่าชายลน • แนวทางการอนุรักษ์ป่าชายลน
5.
หลักการและทฤษฏี 1. ความหมายของป่ าชายเลน ป่าชายลน
หรือ ป่าโกงกาง (อังกฤษ: Mangrove forest หรือ Intertidal forest) คือเป็นกลุ่มสังคมพืชซึ่งขึ้นอยู่ในเขตน้าลงต่าสุดและน้าขึ้นสูงสุด บริเวณ ชายฝั่งทะเล ปากแม่น้าหรืออ่าว อีกความหมายหนึ่ง หมายถึง สังคมพืชที่ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้หลายชนิดหลายตระกูล และเป็นพวกที่มี ใบเขียวตลอดปี (evergreen species) ซึ่งมีลักษณะทางสรีรวิทยาและความต้องการสิ่งแวดล้อมที่ คล้ายกัน ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วยพันธุ์ไม้สกุลโกงกาง (Rhizophora spp.) เป็นไม้ สาคัญและมีไม้ตระกูลอื่นบ้าง
6.
2. พืชที่ขึ้ นบริเวณรอบป่
าชายเลน โกงกางใบเล็ก โกงกางใหญ่ เหงือกปลาหมอ ถั่วดา ถั่วขาว พังกาหัวสุม ดอกแดง โปรงขาว โปรงแดง ตะบูนดา ตะบูนขาว แสมขาว แสมทะเล ลาพู ลาพู ทะเล ตะตุ่มทะเล
7.
3. ห่วงโซ่อาหารบริเวณป่ าชายเลน ระบบนิเวศวิทยาที่เกิดขึ้นในป่าชายลนนั้น
เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ ความสัมพันธ์ที่มีต่อกันระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมพืชพรรณธรรมชาติชนิดต่าง ๆ เมื่อได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ เพื่อใช้ในการสังเคราะห์แสงจะทาให้เกิด อินทรียวัตถุและการเจริญเติบโต กลายเป็นผู้ผลิต (producers) ของระบบส่วนต่าง ๆ ของต้นไม้ นอกเหนือจากมนุษย์นาไปใช้ประโยชน์จะร่วงหล่นทับถมในน้าและใน ดิน ในที่สุดก็จะกลายเป็นแร่ธาตุของพวกจุลชีวัน เช่น แบคทีเรีย เชื้อรา แพลงก์ ตอน ตลอดจนสัตว์เล็ก ๆ หน้าดินที่เรียกกลุ่มนี้ ว่า. ผู้บริโภคของระบบ (detritus consumers) พวกจุลชีวันเหล่านี้ จะเจริญเติบโตกลายเป็นแหล่งอาหารของสัตว์น้า เล็ก ๆ อื่น ๆ และสัตว์เล็ก ๆ เหล่านี้ จะเจริญเติบโตเป็นอาหารของพวกกุ้ง ปู และ ปลาขนาดใหญ่ขึ้นตามลาดับของอาหาร (tropic levels)
8.
นอกจากนี้ ใบไม้ที่ตกหล่นโคนต้นอาจเป็น อาหารโดยตรงของสัตว์น้า (litter
feeding) ก็ได้ ซึ่งทั้งหมดจะเกิดเป็นห่วงโซ่อาหารขึ้น ในระบบนิเวศป่าชาย เลน และโดยธรรมชาติแล้วจะมีความ สมดุลในตัวของมันเอง แต่ถ้ามีการ เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งก็จะเป็นผลทาให้ระบบความสัมพันธ์ นี้ ถูกทาลายลง จนเกิดเป็นผล เสียขึ้นได้ เช่น ถ้าหากพื้นที่ป่าชายลนถูกบุกรุก ทาลาย จานวนสัตว์น้าก็จะลดลงตามไปด้วยตลอดจนอาจเกิดการเน่าเสียของน้า
9.
4. ป่ าชายเลนในประเทศไทย ประเทศไทยมี
22 จังหวัด ที่มีพื้นที่ป่าชายลนตามชายฝั่งทะเลแม่น้าลา คลอง ทะเลสาบและเกาะต่างๆ ตั้งแต่ภาคกลางตอนล่าง ภาคตะวันออกตลอดไป จนถึงภาคใต้ทั้งสองฝั่ง จากการสารวจพื้นที่ป่าชายลนของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2504 พบว่า มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 2,299,375 ไร่ หรือร้อยละ 0.72 ของพื้นที่ ประเทศ ในระยะ 25 ปีต่อมาพื้นที่ป่าชายลนได้ลดลงอย่างรวดเร็ว จากการสารวจ เมื่อ พ.ศ. 2529 ปรากฏว่ามีพื้นที่ป่าชายลนประมาณ 1,220,000 ไร่ หรือลดลง เกือบครึ่งหนึ่ง ต่อมาป่าชายลนยังคงลดลงอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มอัตราการ บุกรุกเพิ่มมากยิ่งขึ้น โดยในปี พ.ศ. 2534 พื้นที่ป่าชายลนคงเหลือเพียง 1,076,250 ไร่ หรือร้อยละ 0.33 ของพื้นที่ประเทศ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่ถูกทาลาย 1,223,125 ไร่ หรือประมาณร้อยละ 54 เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2504
10.
และลดลงเหลือประมาณ 1,047,781.25 ไร่
ในปี พ.ศ. 2539 แต่ หลังจากปี พ.ศ. 2539 มีพื้นที่ป่าชายลนเพิ่มขึ้นเนื่องจากได้มีนโยบายการฟื้ นฟูป่า ชายเลน เช่น การปลูกป่าทดแทนและการลดการบุกรุกทาลายป่า ส่งผลให้ในปี พ.ศ. 2543 พื้นที่ป่าชายลนเพิ่มขึ้น 1,578,750 ไร่ และเป็น 2,384 ไร่ ในปี พ.ศ. 2547 โดยมีพื้นที่เพิ่มขึ้นมากกว่าแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (ปี พ.ศ. 2545–2549) ได้ตั้งเป้าหมายไว้ว่าควรมีป่าชายลนทั้ง ประเทศประมาณ 1,250,000 ไร่ หากเทียบอัตราการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าชาย เลนรายจังหวัดในช่วงปี พ.ศ. 2518-2536 พบว่า จังหวัดชลบุรีมีอัตราลดลงเฉลี่ย ต่อปีมากที่สุดถึงร้อยละ 5.42 เนื่องจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการ พัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลและการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
11.
ประโยชน์ของป่าชายลน 1. เป็นแหล่งพลังงานและอาหาร 2. เป็นที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์ตามธรรมชาติ 3.
เป็นเครื่องป้องกันแนวชายฝั่งทะเล 4. ควบคุมการกัดเซาะพังทลาย 5. ซับน้าเสีย 6. เป็นแนวกาบังกระแสน้าเชี่ยวที่ปากแม่น้าและพายุหมุน 7. เป็นแหล่งวัตถุดิบผลิตภัณฑ์จากไม้ 8. เป็นแหล่งเชื้อเพลิง
12.
9. เป็นแหล่งวัสดุก่อสร้าง 10. เป็นแหล่งวัตถุดิบสิ่งทอและหนังสัตว์ 11.
เป็นแหล่งอาหาร ยา และเครื่องดื่ม 12. การผลิตกรดจากเปลือกไม้ (tannin) 13. การทาเหมือนแร่ดีบุกในบริเวณป่าชายลน 14. ให้ผลผลิตน้าเย็นในระบบหล่อเย็นของโรงไฟฟ้าและโรงงานอุตสาหกรรม 15. ให้ผลผลิตเกลือ 16. ให้ผลผลิตมวลชีวภาพ (biomass) แก่แหล่งประมง 17. ให้ผลผลิตมวลชีวภาพสาหรับการเลี้ยงหอยแมลงภู่และปลา
13.
แนวทางการอนุรักษ์ป่าชายลน 1. เร่งรัดพัฒนา และส่งเสริมความร่วมมือของประชาชนในท้องถิ่น
ในด้านการ อนุรักษ์และพัฒนาป่าชายลน ด้วยวิธีการให้ความรู้ ความ เข้าใจ ที่จะก่อให้เกิด จิตสานึกและเห็นความจาเป็นในการอนุรักษ์ และฟื้ นฟูทรัพยากรป่าชายลน โดย รัฐควรให้สิทธิและความมั่นคงรวมทั้งสิ่งจูงใจ ในประโยชน์ที่ประชาชนเหล่านี้ จะ ได้รับจากการคุ้มครองป้องกันและฟื้ นฟูดูแลรักษาป่าชายลน รวมทั้งการให้ความ ช่วยเหลือทางด้านวิชาการ และความช่วยเหลือทางด้านอื่น ๆ ที่จาเป็น ซึ่งจะเป็น อีกแนวทางหนึ่งที่เสริมสร้างศักยภาพของประชาชน ในการจัดการ บริหารป่าชุมชน ชายเลนต่อไป
14.
2. ปรับปรุงกฎหมาย และระเบียบ
ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าชายลน ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่มีการบุกรุทาลาย ยึดถือ ครอบครอง และจับจองเพื่อ การได้มาซึ่งเอกสิทธิ์ที่ดินป่าชายลนโดยไม่ถูกต้อง ทั้งนี้ เพื่อให้การอนุรักษ์ และ การปลูกฟื้ นฟูป่าชายลน สามารถดาเนินการได้ผลอย่างแท้จริง และเป็นการขจัด ปัญหาการออกเอกสารสิทธิ์ที่ดินป่าชายลนให้หมดไป 3. ดาเนินการสารวจพื้นที่ป่าชายลนอย่างละเอียดและใช้เป็นข้อมูลในการวาง แผนการจัดการป่าไม้ และการจัดการที่ดินป่าชายลนให้เหมาะสมกับศักยภาพ ก่อนที่การอนุญาตทาไม้ในระบบสัมปทานระยะยาวในรอบที่ 2 จะสิ้นสุด เพื่อจะได้ ดาเนินการให้พื้นที่ป่าชายลนเป็นป่าอนุรักษ์ และป่าชุมชนตามความเหมาะสม ภายใต้แผนการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
15.
4. ส่งเสริม และสนับสนุน
ให้มีการปลูกและฟื้ นฟูป่าชายลนอย่างต่อเนื่อง ทั้งใน ที่ดินของรัฐและที่ดินเอกชน โดยให้มีการขยายพันธุ์ไม้ป่าชายลนที่มีความ หลากหลาย ทั้งชนิดที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจและชนิดที่หายากหรือใกล้จะสูญพันธุ์ เพื่อดารงความอุดมสมบูรณ์ของ ป่าชายลน และความหลากหลายทางชีวภาพไป ด้วย 5. ปรับปรุงระบบการอนุรักษ์ และป้องกันรักษาป่าชายลน ให้มีการร่วมมือและ ประสานงานระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบมากยิ่งขึ้น และให้มีการพัฒนาและ ปรับปรุงบทบาทของเจ้าหน้าที่หน่วยป้องกันรักษาป่าและหน่วยจัดการป่าชายลน จากการป้องกันปราบปราม และการควบคุมการทาไม้ มาเป็นนักส่งเสริมและ พัฒนาป่าชายลนมากขึ้น
16.
6. พัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรป่าชายลนของกรมป่าไม้ ให้มี โครงสร้างที่เป็นเอกภาพ
โดยมีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ที่ชัดเจน มีเจ้าหน้าที่ ดาเนินการอย่างเพียงพอ มีความร่วมมือและประสานงานที่ดี 7. ส่งเสริมความร่วมมือกับนานาชาติ และองค์กรระหว่างประเทศ ในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเพิ่มบทบาท ของประเทศไทยในระดับ นานาชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านการศึกษาวิจัย การฝึกอบรม ตลอดจนการ ประชุมสัมมนา ที่เกี่ยวข้องกับการ อนุรักษ์และพัฒนาป่าชายลนแบบยั่งยืน
17.
วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน • เลือกหัวข้อโครงงาน • ค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ •
วิเคราะห์ข้อมูล • สรุปข้อมูลและจัดทาโครงงาน • ตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาด เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ / อินเทอร์เน็ต / หนังสือ งบประมาณ 100 บาท
18.
1 2 3
4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 / 2 / 3 / 4 / 5 / 6 / 7 / 8 /
19.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ • เยาวชนมีความตระหนักในการอนุรักษ์ป่าชายลนมากขึ้น • ระบบนิเวศบริเวณป่าชายลนมีความสมบูรณ์ขึ้น •
มีการรุกรานธรรมชาติบริเวณป่าชายลนน้อยลง
20.
แหล่งอ้างอิง จิระ จินตนุกูล, พ.ศ.
2540, การจัดการป่าชายลนในประเทศไทย. http://www.forest.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=320 สนิท อักษรแก้ว. 2532. ป่าชายลน นิเวศวิทยาและการจัดการ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%B2%E 0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0% B8%99
21.
จัดทาโดย นางสาวศิริรัตน์ คาแสง เลขที่32 นางสาวณัฏฐณิชา
สุยะวิน เลขที่33 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่
Download