ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ชื่อโครงการ โครงการปลูกพืชไร้ดิน
ชุมชน 8 เทศบาลเมืองอุทัยธานี
ดาเนินการตามโครงการมาตรการส่งเสริม
ความเป็นอยู่ระดับตาบล (โครงการกระตุ้นเศรษฐกิจ)
วิทยากร
อ.เสถียร แผ่วัฒนากุล
อาเภอเมืองอุทัยธานี
จังหวัดอุทัยธานี
เอกสารประกอบการฝึกอบรม
การปลูกผักไฮโดรโปนิคส์
สารบัญ
1. ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)................................................................................................1
2. ความแตกต่างระหว่างการปลูกพืชบนดินตามธรรมชาติกับ การปลูกพืชบนดินตามธรรมชาติ
กับการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน.......................................................................................................2
3. เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของการปลูกพืชโดยไม่ใช่ดิน............................................................4
4. ธาตุอาหารและสารละลายธาตุอาหาร......................................................................................5
5. การเตรียมอุปกรณ์ปลูกโดยการสร้างอุปกรณ์ด้วยตนเอง.........................................................6
6. วิธีการปลูก..............................................................................................................................7
7. แบบการสร้างอุปกรณ์การปลูก ..............................................................................................8
8. แหล่งที่มา.............................................................................................................................12
1
เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59
เอกสารประกอบการฝึกอบรม การปลูกผักไฮโดรโปนิคส์
โดย อ.เสถียร แผ่วัฒนากุล
1. ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics) เป็นการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินแต่ใช้น้าที่มีธาตุอาหารพืช
ละลายอยู่ หรือ การปลูกพืชในสารละลายธาตุอาหารพืชทดแทน ซึ่งนับเป็นวิธีการใหม่ในการ
ปลูกพืช โดยเฉพาะการปลูกผักและพืชที่ใช้เป็นอาหาร เนื่องจากประหยัดพืนที่ และไม่ปนเปื้อน
กับสารเคมีต่างๆ ในดิน ให้ได้พืชผักที่สะอาดเป็นอาหาร ปัจจุบันนีในเทคนิคการปลูกพืชแบบไร้
ดินหลายแบบด้วยกัน
ค้าว่า ไฮโดรโปนิกส์ (hydroponics) เป็นค้าผสมระหว่างค้า 3 ค้า คือ
• ไฮโดร (hydro) หมายถึงนา
• โปโนส (ponos) เป็นคาที่มาจากภาษากรีก หมายถึงการทางาน และ
• อิกส์ (ics) หมายถึงศาสตร์หรือศิลปะ
ซึ่งเมื่อรวมค้าทัง 3 ค้าเข้าด้วยกันจึงมีความหมายตามรูปศัพท์ว่า ศาสตร์หรือศิลปะว่าด้วยการ
ท้างานของน้า
ปัจจุบัน การปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์มีเทคนิคที่คิดค้นใหม่ๆหลากหลายรูปแบบ
มิได้จ้ากัดอยู่เฉพาะการปลูกพืชในน้า (water culture) เท่านัน บางกรณีมีการใช้วัสดุปลูก
ทดแทนดินทังหมดและรดด้วยสารละลายธาตุอาหารของพืช เทคนิคดังกล่าวนิยมเรียกว่า การ
ปลูกโดยไม่ใช้ดิน หรือ การปลูกพืชไร้ดิน
ไฮโดรโปนิกส์ มีประโยชน์หลักๆ 2 ประการด้วยกัน
2
เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59
 ประการแรกคือช่วยให้มีสิ่งแวดล้อมที่ควบคุมได้มากขึนส้าหรับการเติบโตของ
พืช แทนที่จะเป็นการใช้ดินอย่างเดิม ท้าให้ก้าจัดตัวแปรที่ไม่ทราบออกไปจากการ
ทดลองได้จ้านวนมาก
 ประการที่สองก็คือ พืชหลายชนิดจะให้ผลผลิตได้มากในเวลาที่น้อยกว่าเดิม และใน
บางครังก็มีคุณภาพที่ดีกว่าเดิมด้วย ซึ่งในสภาพแวดล้อมและสภาพการเศรษฐศาสตร์
หนึ่งๆ การปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์จะให้ผลก้าไรแก่เกษตรกรมากขึน และด้วย
การปลูกที่ไม่ใช้ดินจึงท้าให้พืชไม่มีโรคที่เกิดในดิน ไม่มีวัชพืช ไม่ต้องจัดการ
ดิน และยังสามารถปลูกพืชใกล้กันมากได้ ด้วยเหตุนีพืชจึงให้ผลผลิตในปริมาณที่
มากกว่าเดิมขณะที่ใช้พืนที่จ้ากัด นอกจากนียังมีการใช้น้าน้อยมากเพราะมีการใช้
ภาชนะ หรือระบบวนน้าแบบปิด เพื่อหมุนเวียนน้า เมื่อเทียบกับการเกษตรแบบเดิม
แล้ว นับว่าใช้น้าเพียงส่วนน้อยนิดเท่านัน
2. ความแตกต่างระหว่างการปลูกพืชบนดินตามธรรมชาติกับ
การปลูกพืชบนดินตามธรรมชาติกับการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน
ปกติแล้วพืชจะเจริญเติบโตได้ดีนันต้องมีการเจริญเติบโตที่เหมาะสมคือ สภาพภูมิอากาศ
ที่เหมาะสมเช่น แสงแดด อุณหภูมิ น้า ธาตุอาหารพืชที่มาจากดิน น้า และอากาศ ( ออกซิเจน
ไฮโดรเจน และ คาร์บอนไดอ๊อกไซด์( ทังที่รากส่วนเหนือดิน ซึ่งการที่พืชจะน้าธาตุอาหารไป
ใช้ได้นันจะเกี่ยวข้องกับความเป็นกรด – ด่าง (pH) ของดิน
การปลูกพืชบนดินโดยทั่วไปแม้ดินจะมีธาตุอาหาร และอากาศอันเป็นปัจจัยที่พืช
ต้องการนันมักมีข้อเสียคือ ดินจะไม่มีความอุดมสมบูรณ์ตามที่พืชต้องการ กล่าวคือ ดินจะมี
คุณสมบัติที่ไม่แน่นอนแตกต่างกันไปตามสภาพพืนที่ เช่น โครงสร้างของดิน ปริมาณธาตุอาหาร
หรือความอุดมสมบูรณ์ต่้า pH ไม่เหมาะสม ยุ่งยากต่อการปรับปรุง และเสียค่าใช้จ่ายสูง ปัญหา
เหล่านีท้าให้ได้ผลผลิตที่ไม่แน่นอน
3
เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59
ส่วนการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินนันพืชจะได้รับสารละลายที่มีธาตุอาหารเรียกว่า
สารละลายธาตุอาหารพืชที่ประกอบด้วยธาตุอาหารที่จ้าเป็นต่อพืช ที่อยู่ในรูปแบบที่พืชสามารถ
น้าไปใช้ได้ทันทีเพราะมีการปรับค่า EC และ pH ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมต่อพืชอยู่ตลอดเวลา
อันที่จริงแล้วไม่มีความแตกต่างทางสรีระวิทยาของรากพืชที่จะน้าธาตุอาหารทังจากการปลูกบน
ดินตามธรรมชาติ หรือจากการปลูกพืชที่ไม่ใช้ดิน ดังแสดงในภาพที่ 1 คือ ในการปลูกพืชบนดิน
ตามธรรมชาติ "สารอาหารในดิน (Soilless solution)" เป็นอาหารพืชที่อยู่ในน้าในดินนันมาจาก
วัตถุที่เป็นสิ่งที่เน่าเปื่อยผุพังย่อยสลาย (Decomposed) ที่มาจากวัสดุที่เป็นทังอนินทรีย์สาร
(Inorganic) และ วัสดุปลูกที่เป็นอินทรีย์สาร (Organic) ในขณะที่การปลูกพืชที่ไม่ใช้ดินนัน พืช
จะได้รับ "สารละลายธาตุอาหาร" (Nutrient Solution) มาจากการละลายของปุ๋ยเคมีในน้าเรียกว่า
"สารละลายธาตุอาหารพืช" ทัง สารอาหารในดิน (Soilless sulution) ของการปลูกพืชบนดินที่ได้
จากการเน่าเปื่อยผุพังตามธรรมชาติ และ สารละลายธาตุอาหาร (Nutrient solution) จากการปลูก
พืชโดยไม่ใช้ดิน จะสัมผัสกับรากพืชซึ่งพืชจะดูดเอาไปใช้ในการเจริญเติบโตด้วยกระบวนการ
ต่างๆ ต่อไป
ภาพที่ 1 แสดงสารอาหารส้าหรับการปลูกพืชบนดินและการปลูกพืชที่ไม่ใช้ดิน
4
เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59
3. เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของการปลูกพืชโดยไม่ใช่ดิน
ข้อดี ข้อเสีย
1. สามารถท้าการเพาะปลูกพืชได้ในบริเวณ
พืนที่ที่ดินไม่ดีหรือสภาพแวดล้อมไม่
เหมาะสมต่อการเพาะปลูก
2. ให้ผลผลิตต่อพืนที่ปลูกสูงกว่า และ
สามารถท้าการ ผลิตได้สม่้าเสมอ และ
ต่อเนื่อง
3. อัตราการใช้แรงงานเวลาในการปลูก และ
ค่าใช้จ่ายต่้ากว่า
4. ใช้น้า และธาตุอาหารได้อย่างประหยัด
และมีประสิทธิภาพ เช่น ใช้น้าลดลงถึง 10
เท่าตัวของการปลูกแบบธรรมดา
5. ประหยัดเวลา และแรงงานในการเตรียม
ดิน และก้าจัดวัชพืช
6. ลดค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการใช้สารป้องกัน
และก้าจัดแมลงได้ 100%
7. สามารถปลูกได้ในเมืองเพราะใช้พืนที่
น้อยท้าให้ประหยัดค่าขนส่ง
8. ผลผลิตมีคุณภาพ และไม่มีสารพิษตกค้าง
และไม่มีปัญหาเกี่ยวกับศัตรูพืชที่เกิดจาก
ดิน
9. ผลผลิต คุณภาพ และราคา ดีกว่าการปลูก
บนดินมาก เพราะสามารถควบคุม
สภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
เจริญเติบโตของพืชได้อย่างถูกต้อง
1. การลงทุนขันต้นสูงกว่าการปลูกบนดิน
2. ผู้ปลูกต้องมีความรู้ความเข้าใจใน
เทคนิคการปลูกพืชแบบไร้ดินเป็นอย่าง
ดี และมีประสบการณ์มากพอในการ
ควบคุมดูแล
3. ต้องการการควบคุมดูแลอย่างสม่้าเสมอ
4. เป็นสิ่งใหม่ส้าหรับเกษตรกรที่ต้องใช้
เวลาในการท้าความเข้าใจ
5
เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59
ข้อดี ข้อเสีย
แน่นอนและรวดเร็ว
10. ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ
เช่นสารเคมีตกค้างในดิน การบุกรุกท้าลาย
ป่า เป็นต้น
11. คนพิการก็สามารถท้าการปลูกได้ เป็นการ
ส่งเสริมอาชีพให้กับผู้ด้อยโอกาส
12. เป็นทางเลือกให้กับเกษตรกรรุ่นใหม่
4. ธาตุอาหารและสารละลายธาตุอาหาร
ในการปลูกพืชไม่ใช้ดิน ปัจจัยหลักที่ท้าให้ต้นพืชเจริญเติบโต คือ ธาตุอาหารที่เป็น
วัตถุดิบในการให้ต้นพืชเจริญเติบโต ในกระบวนการสร้างสารอาหาร โดยกระบวนการ
สังเคราะห์แสง วัตถุดิบที่ใช้คือ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เมื่อได้รับแสงบนคลอโรฟิลด์ จะได้
สารคาร์โบไฮเดรต และออกซิเจนจะเห็นได้ว่าธาตุอาหารที่พืชใช้ในกระบวนการดังกล่าว คือ
คาร์บอน (C) จากคาร์บอนไดออกไซด์ และไฮโดรเจน ออกซิเจน จากน้า ( H2O) และในส่วน
ของคลอโรฟิลล์ในพืชมีธาตุอื่นๆ เป็นองค์ประกอบ เช่น ธาตุในโตรเจน (N) และแมกนีเซียม
(Mg) ซึ่งเราสามารถจ้าแนกธาตุอาหารตามปริมาณความต้องการในปริมาณที่ต่างกันในการใช้
ของพืช ซึ่งหากใช้ไม่เหมาะสมก็จะท้าให้พืชเติบโตไม่ปกติ นอกจากนี การให้ธาตุอาหารให้
สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ถ้าให้อย่างใดอย่างหนึ่งมากหรือน้อยพืชก็ไม่สามารถน้าไปใช้ใน
การเจริญเติบโต
6
เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59
5. การเตรียมอุปกรณ์ปลูกโดยการสร้างอุปกรณ์ด้วยตนเอง
มีเอกสารแนบ สร้างแบบไว้ให้ ฝึกการสร้างอุปกรณ์ 1 วัน
การเตรียมวัสดุปลูก(ฝ่ายการอบรมเตรียมไว้ให้(
1. ถ้วยปลูก
2. ฟองน้า และเฟอร์ไรด์
3. เมล็ดพันธุ์ผัก
4. ปุ๋ย กรด ไนตริกเจือจาง อุปกรณ์การตรวจสอบค่าความเป็นกรด ด่าง (pH)
7
เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59
5. สารละลายในบ่อน้า ประกอบด้วย ปุ๋ย A ปุ๋ย B ในอัตราส่วน 1:1 วัดค่า pH 6.5
ค่า EC ประมาณ 1.8
6. ถังน้าชนาด 60 ลิตร ขึนไป
7. ปั้มน้าขนาด 5 วัตต์ขึนไป พร้อมสายยาง
6. วิธีการปลูก
1. หยอดเมล็ดผ้กใส่ลงในฟองน้า 1 เมล็ด
2. ใส่ฟองน้าลงในถ้วยปลูก รดน้าให้ชุ่ม
3. ใส่ถ้วยปลูกลงในรางเพาะเมล็ด คลุมไม่ให้ถูกแสง รดน้าเช้าเย็น
4. 3-5 วัน เมล็ดจะเริ่มงอกย้ายออกให้ถูกแสงร้าไรให้ความชืนอยู่เสมอ เรียกระยะ
อนุบาล 1
5. เริ่มให้ปู่ย หลังจากนัน 1 สัปดาห์ ให้ถูกแสงเพิ่มมากขึน เรียก ระยะ อนุบาล 2
6. สังเกตว่ามีรากงอก สัปดาห์ที่ 2 ย้ายออกสู่รางปลูก ให้พรางแสง ประมาณ 60 %
7. ควบคุมค่า pH และค่า EC ทุกวัน ประมาณ 30 วัน สามารถเก็บผลผลิตได้
------------------------------------
8
เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59
แบบที่ 1
ภาพ ที่ 1
ภาพ ที่ 2
9
เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59
ภาพ ที่ 3
ภาพ ที่ 4
10
เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59
แบบที่ 2 ท่อ PVC 3 นิว 20 ช่องปลูก
11
เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59
ด้านหัวราง
ด้านท้ายราง
ด้านข้าง
12
เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59
แหล่งที่มา
- การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน รุ่นที่ 16 คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีเจ้าคุณ
ทหารลาดกระบัง 2557 (เอกสารประกอบการฝึกอบรม)
- ระบบปลูกและความเหมาะสมในการนาไปประยุกต์ใช้ การปลูกพืชในระบบ NFT , การ
ออกแบบระบบและการจัดการระบบปลูกพืชในระบบ NFT , การปลูกพืชในวัสดุปลูก
ดร.อิทธิสุนทร นันทกิจ
ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเทคโนโลยีการเกษตร
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
- www.higreenshop.com/‎
- www.h2ohydrogarden.com/.../ประวัติความเป็นมาไฮโดรโปนิกส์.html
- https://th.wikipedia.org/wiki/ไฮโดรโปนิกส์
- kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK27/chapter5/t27-5-l1.htm
-----------------------------------------------

More Related Content

๶อกสารฝึกอบรมผักไฮโึϸโปȨกส์

  • 1. ชื่อโครงการ โครงการปลูกพืชไร้ดิน ชุมชน 8 เทศบาลเมืองอุทัยธานี ดาเนินการตามโครงการมาตรการส่งเสริม ความเป็นอยู่ระดับตาบล (โครงการกระตุ้นเศรษฐกิจ) วิทยากร อ.เสถียร แผ่วัฒนากุล อาเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี เอกสารประกอบการฝึกอบรม การปลูกผักไฮโดรโปนิคส์
  • 2. สารบัญ 1. ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)................................................................................................1 2. ความแตกต่างระหว่างการปลูกพืชบนดินตามธรรมชาติกับ การปลูกพืชบนดินตามธรรมชาติ กับการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน.......................................................................................................2 3. เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของการปลูกพืชโดยไม่ใช่ดิน............................................................4 4. ธาตุอาหารและสารละลายธาตุอาหาร......................................................................................5 5. การเตรียมอุปกรณ์ปลูกโดยการสร้างอุปกรณ์ด้วยตนเอง.........................................................6 6. วิธีการปลูก..............................................................................................................................7 7. แบบการสร้างอุปกรณ์การปลูก ..............................................................................................8 8. แหล่งที่มา.............................................................................................................................12
  • 3. 1 เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59 เอกสารประกอบการฝึกอบรม การปลูกผักไฮโดรโปนิคส์ โดย อ.เสถียร แผ่วัฒนากุล 1. ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics) ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics) เป็นการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินแต่ใช้น้าที่มีธาตุอาหารพืช ละลายอยู่ หรือ การปลูกพืชในสารละลายธาตุอาหารพืชทดแทน ซึ่งนับเป็นวิธีการใหม่ในการ ปลูกพืช โดยเฉพาะการปลูกผักและพืชที่ใช้เป็นอาหาร เนื่องจากประหยัดพืนที่ และไม่ปนเปื้อน กับสารเคมีต่างๆ ในดิน ให้ได้พืชผักที่สะอาดเป็นอาหาร ปัจจุบันนีในเทคนิคการปลูกพืชแบบไร้ ดินหลายแบบด้วยกัน ค้าว่า ไฮโดรโปนิกส์ (hydroponics) เป็นค้าผสมระหว่างค้า 3 ค้า คือ • ไฮโดร (hydro) หมายถึงนา • โปโนส (ponos) เป็นคาที่มาจากภาษากรีก หมายถึงการทางาน และ • อิกส์ (ics) หมายถึงศาสตร์หรือศิลปะ ซึ่งเมื่อรวมค้าทัง 3 ค้าเข้าด้วยกันจึงมีความหมายตามรูปศัพท์ว่า ศาสตร์หรือศิลปะว่าด้วยการ ท้างานของน้า ปัจจุบัน การปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์มีเทคนิคที่คิดค้นใหม่ๆหลากหลายรูปแบบ มิได้จ้ากัดอยู่เฉพาะการปลูกพืชในน้า (water culture) เท่านัน บางกรณีมีการใช้วัสดุปลูก ทดแทนดินทังหมดและรดด้วยสารละลายธาตุอาหารของพืช เทคนิคดังกล่าวนิยมเรียกว่า การ ปลูกโดยไม่ใช้ดิน หรือ การปลูกพืชไร้ดิน ไฮโดรโปนิกส์ มีประโยชน์หลักๆ 2 ประการด้วยกัน
  • 4. 2 เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59  ประการแรกคือช่วยให้มีสิ่งแวดล้อมที่ควบคุมได้มากขึนส้าหรับการเติบโตของ พืช แทนที่จะเป็นการใช้ดินอย่างเดิม ท้าให้ก้าจัดตัวแปรที่ไม่ทราบออกไปจากการ ทดลองได้จ้านวนมาก  ประการที่สองก็คือ พืชหลายชนิดจะให้ผลผลิตได้มากในเวลาที่น้อยกว่าเดิม และใน บางครังก็มีคุณภาพที่ดีกว่าเดิมด้วย ซึ่งในสภาพแวดล้อมและสภาพการเศรษฐศาสตร์ หนึ่งๆ การปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์จะให้ผลก้าไรแก่เกษตรกรมากขึน และด้วย การปลูกที่ไม่ใช้ดินจึงท้าให้พืชไม่มีโรคที่เกิดในดิน ไม่มีวัชพืช ไม่ต้องจัดการ ดิน และยังสามารถปลูกพืชใกล้กันมากได้ ด้วยเหตุนีพืชจึงให้ผลผลิตในปริมาณที่ มากกว่าเดิมขณะที่ใช้พืนที่จ้ากัด นอกจากนียังมีการใช้น้าน้อยมากเพราะมีการใช้ ภาชนะ หรือระบบวนน้าแบบปิด เพื่อหมุนเวียนน้า เมื่อเทียบกับการเกษตรแบบเดิม แล้ว นับว่าใช้น้าเพียงส่วนน้อยนิดเท่านัน 2. ความแตกต่างระหว่างการปลูกพืชบนดินตามธรรมชาติกับ การปลูกพืชบนดินตามธรรมชาติกับการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน ปกติแล้วพืชจะเจริญเติบโตได้ดีนันต้องมีการเจริญเติบโตที่เหมาะสมคือ สภาพภูมิอากาศ ที่เหมาะสมเช่น แสงแดด อุณหภูมิ น้า ธาตุอาหารพืชที่มาจากดิน น้า และอากาศ ( ออกซิเจน ไฮโดรเจน และ คาร์บอนไดอ๊อกไซด์( ทังที่รากส่วนเหนือดิน ซึ่งการที่พืชจะน้าธาตุอาหารไป ใช้ได้นันจะเกี่ยวข้องกับความเป็นกรด – ด่าง (pH) ของดิน การปลูกพืชบนดินโดยทั่วไปแม้ดินจะมีธาตุอาหาร และอากาศอันเป็นปัจจัยที่พืช ต้องการนันมักมีข้อเสียคือ ดินจะไม่มีความอุดมสมบูรณ์ตามที่พืชต้องการ กล่าวคือ ดินจะมี คุณสมบัติที่ไม่แน่นอนแตกต่างกันไปตามสภาพพืนที่ เช่น โครงสร้างของดิน ปริมาณธาตุอาหาร หรือความอุดมสมบูรณ์ต่้า pH ไม่เหมาะสม ยุ่งยากต่อการปรับปรุง และเสียค่าใช้จ่ายสูง ปัญหา เหล่านีท้าให้ได้ผลผลิตที่ไม่แน่นอน
  • 5. 3 เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59 ส่วนการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินนันพืชจะได้รับสารละลายที่มีธาตุอาหารเรียกว่า สารละลายธาตุอาหารพืชที่ประกอบด้วยธาตุอาหารที่จ้าเป็นต่อพืช ที่อยู่ในรูปแบบที่พืชสามารถ น้าไปใช้ได้ทันทีเพราะมีการปรับค่า EC และ pH ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมต่อพืชอยู่ตลอดเวลา อันที่จริงแล้วไม่มีความแตกต่างทางสรีระวิทยาของรากพืชที่จะน้าธาตุอาหารทังจากการปลูกบน ดินตามธรรมชาติ หรือจากการปลูกพืชที่ไม่ใช้ดิน ดังแสดงในภาพที่ 1 คือ ในการปลูกพืชบนดิน ตามธรรมชาติ "สารอาหารในดิน (Soilless solution)" เป็นอาหารพืชที่อยู่ในน้าในดินนันมาจาก วัตถุที่เป็นสิ่งที่เน่าเปื่อยผุพังย่อยสลาย (Decomposed) ที่มาจากวัสดุที่เป็นทังอนินทรีย์สาร (Inorganic) และ วัสดุปลูกที่เป็นอินทรีย์สาร (Organic) ในขณะที่การปลูกพืชที่ไม่ใช้ดินนัน พืช จะได้รับ "สารละลายธาตุอาหาร" (Nutrient Solution) มาจากการละลายของปุ๋ยเคมีในน้าเรียกว่า "สารละลายธาตุอาหารพืช" ทัง สารอาหารในดิน (Soilless sulution) ของการปลูกพืชบนดินที่ได้ จากการเน่าเปื่อยผุพังตามธรรมชาติ และ สารละลายธาตุอาหาร (Nutrient solution) จากการปลูก พืชโดยไม่ใช้ดิน จะสัมผัสกับรากพืชซึ่งพืชจะดูดเอาไปใช้ในการเจริญเติบโตด้วยกระบวนการ ต่างๆ ต่อไป ภาพที่ 1 แสดงสารอาหารส้าหรับการปลูกพืชบนดินและการปลูกพืชที่ไม่ใช้ดิน
  • 6. 4 เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59 3. เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของการปลูกพืชโดยไม่ใช่ดิน ข้อดี ข้อเสีย 1. สามารถท้าการเพาะปลูกพืชได้ในบริเวณ พืนที่ที่ดินไม่ดีหรือสภาพแวดล้อมไม่ เหมาะสมต่อการเพาะปลูก 2. ให้ผลผลิตต่อพืนที่ปลูกสูงกว่า และ สามารถท้าการ ผลิตได้สม่้าเสมอ และ ต่อเนื่อง 3. อัตราการใช้แรงงานเวลาในการปลูก และ ค่าใช้จ่ายต่้ากว่า 4. ใช้น้า และธาตุอาหารได้อย่างประหยัด และมีประสิทธิภาพ เช่น ใช้น้าลดลงถึง 10 เท่าตัวของการปลูกแบบธรรมดา 5. ประหยัดเวลา และแรงงานในการเตรียม ดิน และก้าจัดวัชพืช 6. ลดค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการใช้สารป้องกัน และก้าจัดแมลงได้ 100% 7. สามารถปลูกได้ในเมืองเพราะใช้พืนที่ น้อยท้าให้ประหยัดค่าขนส่ง 8. ผลผลิตมีคุณภาพ และไม่มีสารพิษตกค้าง และไม่มีปัญหาเกี่ยวกับศัตรูพืชที่เกิดจาก ดิน 9. ผลผลิต คุณภาพ และราคา ดีกว่าการปลูก บนดินมาก เพราะสามารถควบคุม สภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ เจริญเติบโตของพืชได้อย่างถูกต้อง 1. การลงทุนขันต้นสูงกว่าการปลูกบนดิน 2. ผู้ปลูกต้องมีความรู้ความเข้าใจใน เทคนิคการปลูกพืชแบบไร้ดินเป็นอย่าง ดี และมีประสบการณ์มากพอในการ ควบคุมดูแล 3. ต้องการการควบคุมดูแลอย่างสม่้าเสมอ 4. เป็นสิ่งใหม่ส้าหรับเกษตรกรที่ต้องใช้ เวลาในการท้าความเข้าใจ
  • 7. 5 เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59 ข้อดี ข้อเสีย แน่นอนและรวดเร็ว 10. ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ เช่นสารเคมีตกค้างในดิน การบุกรุกท้าลาย ป่า เป็นต้น 11. คนพิการก็สามารถท้าการปลูกได้ เป็นการ ส่งเสริมอาชีพให้กับผู้ด้อยโอกาส 12. เป็นทางเลือกให้กับเกษตรกรรุ่นใหม่ 4. ธาตุอาหารและสารละลายธาตุอาหาร ในการปลูกพืชไม่ใช้ดิน ปัจจัยหลักที่ท้าให้ต้นพืชเจริญเติบโต คือ ธาตุอาหารที่เป็น วัตถุดิบในการให้ต้นพืชเจริญเติบโต ในกระบวนการสร้างสารอาหาร โดยกระบวนการ สังเคราะห์แสง วัตถุดิบที่ใช้คือ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เมื่อได้รับแสงบนคลอโรฟิลด์ จะได้ สารคาร์โบไฮเดรต และออกซิเจนจะเห็นได้ว่าธาตุอาหารที่พืชใช้ในกระบวนการดังกล่าว คือ คาร์บอน (C) จากคาร์บอนไดออกไซด์ และไฮโดรเจน ออกซิเจน จากน้า ( H2O) และในส่วน ของคลอโรฟิลล์ในพืชมีธาตุอื่นๆ เป็นองค์ประกอบ เช่น ธาตุในโตรเจน (N) และแมกนีเซียม (Mg) ซึ่งเราสามารถจ้าแนกธาตุอาหารตามปริมาณความต้องการในปริมาณที่ต่างกันในการใช้ ของพืช ซึ่งหากใช้ไม่เหมาะสมก็จะท้าให้พืชเติบโตไม่ปกติ นอกจากนี การให้ธาตุอาหารให้ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ถ้าให้อย่างใดอย่างหนึ่งมากหรือน้อยพืชก็ไม่สามารถน้าไปใช้ใน การเจริญเติบโต
  • 8. 6 เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59 5. การเตรียมอุปกรณ์ปลูกโดยการสร้างอุปกรณ์ด้วยตนเอง มีเอกสารแนบ สร้างแบบไว้ให้ ฝึกการสร้างอุปกรณ์ 1 วัน การเตรียมวัสดุปลูก(ฝ่ายการอบรมเตรียมไว้ให้( 1. ถ้วยปลูก 2. ฟองน้า และเฟอร์ไรด์ 3. เมล็ดพันธุ์ผัก 4. ปุ๋ย กรด ไนตริกเจือจาง อุปกรณ์การตรวจสอบค่าความเป็นกรด ด่าง (pH)
  • 9. 7 เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59 5. สารละลายในบ่อน้า ประกอบด้วย ปุ๋ย A ปุ๋ย B ในอัตราส่วน 1:1 วัดค่า pH 6.5 ค่า EC ประมาณ 1.8 6. ถังน้าชนาด 60 ลิตร ขึนไป 7. ปั้มน้าขนาด 5 วัตต์ขึนไป พร้อมสายยาง 6. วิธีการปลูก 1. หยอดเมล็ดผ้กใส่ลงในฟองน้า 1 เมล็ด 2. ใส่ฟองน้าลงในถ้วยปลูก รดน้าให้ชุ่ม 3. ใส่ถ้วยปลูกลงในรางเพาะเมล็ด คลุมไม่ให้ถูกแสง รดน้าเช้าเย็น 4. 3-5 วัน เมล็ดจะเริ่มงอกย้ายออกให้ถูกแสงร้าไรให้ความชืนอยู่เสมอ เรียกระยะ อนุบาล 1 5. เริ่มให้ปู่ย หลังจากนัน 1 สัปดาห์ ให้ถูกแสงเพิ่มมากขึน เรียก ระยะ อนุบาล 2 6. สังเกตว่ามีรากงอก สัปดาห์ที่ 2 ย้ายออกสู่รางปลูก ให้พรางแสง ประมาณ 60 % 7. ควบคุมค่า pH และค่า EC ทุกวัน ประมาณ 30 วัน สามารถเก็บผลผลิตได้ ------------------------------------
  • 13. 11 เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59 ด้านหัวราง ด้านท้ายราง ด้านข้าง
  • 14. 12 เอกสารประกอบการฝึกอบรมปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ วันที่ 19-20 ก.พ. 59 แหล่งที่มา - การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน รุ่นที่ 16 คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง 2557 (เอกสารประกอบการฝึกอบรม) - ระบบปลูกและความเหมาะสมในการนาไปประยุกต์ใช้ การปลูกพืชในระบบ NFT , การ ออกแบบระบบและการจัดการระบบปลูกพืชในระบบ NFT , การปลูกพืชในวัสดุปลูก ดร.อิทธิสุนทร นันทกิจ ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง - www.higreenshop.com/‎ - www.h2ohydrogarden.com/.../ประวัติความเป็นมาไฮโดรโปนิกส์.html - https://th.wikipedia.org/wiki/ไฮโดรโปนิกส์ - kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK27/chapter5/t27-5-l1.htm -----------------------------------------------