วิธีขียนȨยาย
- 1. ~~วิธีขียนȨยาย(ที่ดี)สาหรับนักเขียนมือใหม่และเก่าทุกคน~~
การเขียนนิยาย สาหรับนักเขียนมือใหม่และมือเก่าทุกคน
1. การวางพล็อตเรื่อง
เป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดของการเขียนนิยาย นิยายของคุณอาจน่าสนใจมากขึ้นหากมีพล็อตเรื่องที่ดี
ซึ่งพล็อตแบบสากลทั่วไปเลยก็คือ พล็อตแบบคลาสสิคที่มีตอนต้นเรื่อง ตอนกลางเรื่อง และตอนจบ
โดยก่อนการเขียนเรื่องต้องกาหนดก่อนว่าพล็อตเรื่องของคุณเป็นแบบไหน มีตอนเริ่มอย่างไร จบอย่างไร
เป็นแนวไหน ปมในเรื่องจะคลายตอนใด ตัวละครเป็นแบบไหน
ควรหลีกเลี่ยงการเขียนแบบนึกไปเขียนไปเรื่อยๆ เพราะจะทาให้ผู้อ่านรู้สึกเบื่อ
ไม่รู้ว่าจุดคลายแมกส์อยู่ที่ไหน
2. ตัวละคร
เป็นอีกหนึ่งอย่างที่ตามมาจากพล็อตเรื่อง
บางคนอาจนึกลักษณะตัวละครขึ้นมาก่อนแล้วจึงเกิดเป็นพล็อตเรื่อง เรียกได้ว่า
"ตัวละครคือพล็อต.......พล็อตเรื่องก็คือตัวละครนั่นเอง" เราสามารถสร้างพล็อตจากตัวละครได้
แต่ถ้าไม่มีพล็อตเราจะสร้างตัวละครไม่ได้
หากคุณอยากให้นิยายมีสีสัน เป็นที่น่าจดจา ควรวางลักษณะของตัวละครให้ชัดเจน
เพราะผู้อ่านมักจาเรื่องได้จากตัวละคร บทบาทของเขาต่อเรื่องเป็นอย่างไร ตัวละครมีความขัดแย้งในเรื่องใด
และคลายปมนั้นให้เห็นด้วย ควรหลีกเลี่ยงการพรรณาตัวละครแบบเกินจริง
เพราะในชีวิตจริงไม่มีใครที่จะผมสวยทุกคน หล่อทุกคน น่ารักทุกคน ผิวขาวทุกคน
ให้นึกถึงคนที่ผอมตัวดาบ้าง หรือคนอ้วน คนใส่แว่น คนฟันม้าบ้าง
ซึ่งมันจะทาให้นิยายของคุณมีลักษณะเฉพาะมากขึ้น
บางคนอาจหลงตัวละครตัวเองในเรื่อง นาเอาลักษณะของตัวละครอีกตัวหนึ่งมาใส่อีกตัวหนึ่งแทน
ซึ่งนั่นทาให้ผู้อ่านรู้สึกไม่เห็นถึงความแตกต่างของตัวละครแต่ละตัวเลย
และพาลทาให้ดูไม่มีสีสันเอาซะเลยด้วย เพราะฉะนั้นก่อนเริ่มเขียนคุณจะต้องสร้างพล็อตของตัวละครด้วย
เหมือนกับแบบฟอร์มการเขียนประวัติของตัวละครแต่ละตัว เกี่ยวประวัติ ความชอบเฉพาะ นิสัย ลักษณะ
หรืออะไรก็ได้ ที่แสดงให้เห็นลักษณะของตัวละครแต่ละตัว และเพื่อกันตัวเองสับสนตัวละครด้วย
(ซึ่งกิ่งไผ่ก็เป็นเหมือนกัน) ผู้เขียนี่ดีต้องทาให้คนอ่านรู้จักตัวละครดีพอๆกับที่คุณรู้
- 2. 3. การเล่าเรื่อง
กรเขียนนิยายแตกต่างจากงานเขียนอื่นๆ ก็คือ ก่อนเริ่มเขียน
คุณต้องตัดสินใจว่าคุณจะให้ใครเป็นผู้เล่าเรื่อง คุณควรจะมุมมองแบบไหน บุรุษที่1 บุรุษที่ 2บุรุษที่ 3
ควรที่จะเลือกเล่าอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น
4. บทสนทนา
ข้อควรระวังในการเขียนบทสนทนามีมากเหมือนกัน ไม่ใช่สักแต่ว่าพูดไป
-ระวังการบอกว่าใครเป็นเจ้าของบทสนทนา เช่นคาว่า เขาพูด เขากล่าว เขาอย่างนั้น เขาอย่างนี้
ที่เราเรียกว่าป้ายแขวนชื่อของตัวละคร ซึ่งหากใช้มากเกินไป มันจะทาให้ผู้อ่านรู้สึกน่าเบื่อมากๆๆ เช่น
"เธอจะไปไหน" เธอถามเขา
"ผมจะไปทะเล" เขาบอก "แล้วคุณจะไปไหนล่ะ"
"ฉันก็จะไปทะเลเหมือนกัน" หล่อนบอกเขา
"งั้นเราก็ควรไปด้วยกันนะ"
"จะดีเหรอ" เธอถามเขา
"ดีสิ" เขาตอบ
อย่างนี้เป็นต้น ลองเปลี่ยนการใช้ป้ายแขวนชื่อแบบนี้มาเป็นการแสดงกริยาผสมด้วยดู
อาจจะดูน่าสนใจขึ้นก็ได้ เช่น
"คุณน่ะรักฉันไหมคะ"
มาเป็น
"คุณน่ะ" เธอถาม "รักฉันไหมคะ"
หรือ
"คุณน่ะรักฉันไหมคะ"
มาเป็น
"คุณน่ะ..." เธอถามเสียงเบาลง "รักฉันไหมคะ"
การใส่กริยาลงไปแบบนี้จะทาให้บทสนทนาน่าสนใจมากขึ้น หรือบทสนทนาที่ไม่รู้จักจบสักที แบบว่า
"นี่คุณตารวจมาจับผมทาไม"
"หยุด บอกให้หยุด"
"แต่ผมไม่ได้ทาอะไรผิดเลยนะ"
- 3. "นายวิ่งทาไม ตอนที่ผมวิ่งตาม"
"ก็ผมตกใจหนิจ่า"
"บอกให้อยู่เฉยๆ เดี๋ยวไปที่โรงพักก็รู้กันเอง"
"ผมไม่ไปหรอกหนะ"
"ขึ้นไป บนโรงเพกมีคนรอนายอยู่"
"บนนี่นี่นะเหรอ"
แบบนี้ก็ทาให้งงมากเหมือนกัน มันทาให้ผู้อ่านงงว่าตกลงบทสนทนานี้เป็นของใครแล้ว
และมีการดาเนินเรื่องที่เร็วเกินไปมาก
5. การใช้อุปมา-อุปไมยบ้าง
จะทาให้เรื่องดูน่าสนใจขึ้นและได้อารมณ์มากขึ้น อย่างแทนที่จะบอกว่า "เธอผิวขาวมาก" ก็ใช้เป็น
"เธอผิวขาวราวกับน้านม" หรือ "เธอเกียดเขาที่สุด" ก็เป็น
"เธอรู้สึกกับเขาเหมือนกับเศษทรายตามพื้นที่อยากจะเอาน้าสาดไปให้ไกลๆ อย่างนี้เป็นต้น
..........................................................